อินทรีทะเล
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก เหยี่ยวปลา)
อินทรีทะเล ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: สมัยไมโอซีนตอนกลาง–ปัจจุบัน 16–0Ma[1] | |
---|---|
อินทรีหัวขาว (Haliaeetus leucocephalus) | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
โดเมน: | ยูแคริโอต Eukaryota |
อาณาจักร: | สัตว์ Animalia |
ไฟลัม: | สัตว์มีแกนสันหลัง Chordata |
ชั้น: | สัตว์ปีก Aves |
อันดับ: | เหยี่ยว Accipitriformes |
วงศ์: | เหยี่ยวและนกอินทรี Accipitridae |
วงศ์ย่อย: | Haliaeetinae Haliaeetinae |
สกุล: | Haliaeetus Haliaeetus Savigny, 1809 |
ชนิดต้นแบบ | |
Haliaeetus albicilla Linnaeus (1753) | |
ชนิด | |
ดูข้อความ | |
ชื่อพ้อง | |
Ichthyophaga Lesson,1843 |
อินทรีทะเล (อังกฤษ: Sea eagle, Fish eagle บางครั้งเรียก Erne หรือ Ern ซึ่งมาจากอินทรีหางขาว) เป็นนกล่าเหยื่อในสกุล Haliaeetus[2] ในวงศ์ Accipitridae
อินทรีทะเลมีหลายขนาด ตั้งแต่อินทรีทะเลแซนฟอร์ดซึ่งมีน้ำหนักประมาณ 2–2.7 กิโลกรัม ถึงอินทรีทะเลสเตลเลอร์ซึ่งหนักถึง 9 กิโลกรัม[3] โดยทั่วไปกินปลาและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กเป็นอาหาร
ชนิด
[แก้]ปัจจุบันมีอยู่ 10 ชนิด:[4]
ภาพ | ชื่อวิทยาศาสตร์ | ชื่อทั่วไป | การกระจายตัว |
---|---|---|---|
Haliaeetus leucocephalus | อินทรีหัวขาว | ทั่วสหรัฐภาคพื้นทวีป, แคนาดา และเม็กซิโกตอนเหนือ | |
Haliaeetus leucogaster | นกออก | อินเดียและศรีลังกา ทั่วเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ถึงออสเตรเลีย | |
Haliaeetus sanfordi | อินทรีทะเลแซนฟอร์ด | หมู่เกาะโซโลมอน | |
Haliaeetus vocifer | อินทรีกินปลาแอฟริกา | แอฟริกาใต้สะฮารา | |
Haliaeetus vociferoides | อินทรีกินปลามาดากัสการ์ | มาดากัสการ์ | |
Haliaeetus leucoryphus | อินทรีทะเลหัวนวล | เอเชียกลาง ระหว่างทะเลแคสเปียนถึงทะเลเหลือง จากคาซัคสถานและมองโกเลียถึงเทือกเขาหิมาลัย บังกลาเทศและอินเดียเหนือ | |
Haliaeetus albicilla | อินทรีหางขาว | กรีนแลนด์ตะวันตก พื้นที่ยูเรเชียส่วนใหญ่ขยายไปทางใต้ถึงจีนตะวันออกเฉียงใต้และญี่ปุ่น | |
Haliaeetus pelagicus | อินทรีทะเลชเต็ลเลอร์ | ชายฝั่งเอเชียตะวันออกเฉียงหนือ | |
Haliaeetus humilis | เหยี่ยวปลาเล็กหัวเทา | กัศมีร์ ทั่วเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เนปาล และพม่าถึงอินโดจีน | |
Haliaeetus ichthyaetus | เหยี่ยวปลาใหญ่หัวเทา | เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Mindat.org". www.mindat.org. สืบค้นเมื่อ 2021-05-28.
- ↑ ศัพทมูลวิทยา: ละตินใหม่ "อินทรีทะเล" มาจาก กรีกโบราณ [1] เก็บถาวร 2021-12-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ἁλιάετος (haliaetos) และ ἁλιαίετος (haliaietos, วรรณกรรม (เช่น Homeric) แปรปรวน), "อินทรีทะเล, ออสเปรย์" (hali, "ที่ทะเล" (กรณีแบบแผน), + aetos, "อินทรี") ทั้งสองคำในภาษากรีกอยู่หลังภาษาตะตินที่เป็นแบบแผน haliaetus (เช่นเดียวกับใน Pandion haliaetus) และ haliaeetus
- ↑ del Hoyo, J., Elliott, A., & Sargatal, J., eds. (1994). Handbook of the Birds of the World Vol. 2. Lynx Edicions, Barcelona ISBN 84-87334-15-6.
- ↑ del Hoyo, Elliott & Sargatal 1994.
ข้อมูลทั่วไป
[แก้]- del Hoyo, J.; Elliott, A.; Sargatal, J., บ.ก. (1994). Handbook of the Birds of the World. Vol. 2. Barcelona: Lynx Edicions. ISBN 84-87334-15-6.
- Wink, M.; Heidrich, P.; Fentzloff, C. (1996). "A mtDNA phylogeny of sea eagles (genus Haliaeetus) based on nucleotide sequences of the cytochrome b gene" (PDF). Biochemical Systematics and Ecology. 24 (7–8): 783–791. doi:10.1016/S0305-1978(96)00049-X.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Haliaeetus