เสียงนาสิก ลิ้นม้วน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เสียงนาสิก ลิ้นม้วน
ɳ
หมายเลขไอพีเอ117
การเข้ารหัส
เอนทิตี (ฐาน 10)ɳ
ยูนิโคด (ฐาน 16)U+0273
เอกซ์-แซมปาn`
เคอร์เชินบอมn.
ตัวอย่างเสียง

 

เสียงนาสิก ลิ้นม้วน (อังกฤษ: retroflex nasal) เป็นเสียงพยัญชนะที่มีใช้ในหลายภาษา โดยเฉพาะภาษากลุ่มอินโด-อารยัน เช่น ภาษาฮินดี, ภาษาอูรดู, ภาษาทมิฬ, ภาษามลยาฬัม, ภาษาสันสกฤต ฯลฯ แต่ไม่ปรากฏในภาษาไทย สัญลักษณ์ในชุดสัทอักษรสากลที่ใช้แทนเสียงนี้คือ ⟨ɳ⟩ และสัญลักษณ์เอกซ์-แซมปาคือ n` ในการทับศัพท์อาจใช้ตัวอักษร ซึ่งตรงกับการจัดวรรคพยัญชนะของภาษากลุ่มนี้

การปรากฏ[แก้]

ภาษา ตัวอย่างคำ สัทอักษรสากล ความหมาย หมายเหตุ
ภาษาอีนินด์ฮิลยากวา yingarna [jiŋaɳa] 'งู'
ภาษาฮินดี गणेश [ɡəɳeʃ] 'พระพิฆเนศวร' ดูเสียงในภาษาฮินดี
ภาษากันนาดา ಅಣೆ [ʌɳe] 'เขื่อน'
ภาษามลยาฬัม[1] അണ [aɳa] 'ขากรรไกร'
ภาษานอร์เวย์ garn sv-garn.ogg [ɡɑːɳ] 'เส้นด้าย' ดูเสียงในภาษานอร์เวย์
ภาษาโอริยา ବଣି [baɳi] 'เก่า'
ภาษาปัญจาบ ਪੁਰਾਣਾ/پُراڻا [pʊraːɳaː] 'เก่า'
ภาษาสวีเดน[2] garn sv-garn.ogg [ɡɑːɳ] 'เส้นด้าย' ดูเสียงในภาษาสวีเดน
ภาษาทมิฬ[3] அணல் [aɳal] 'คอ' ดูเสียงในภาษาสวีเดน
ภาษาเตลูกู ఒణ్ఢు [oɳɖu] 'ครัว'
ภาษาเวียดนาม[4] bạn trả [ɓaɳ˧ˀ˨ʔ ʈa˧˩˧] 'คุณจ่าย' ดูเสียงในภาษาเวียดนาม

อ้างอิง[แก้]

บรรณานุกรม[แก้]

  • Eliasson, Stig (1986), "Sandhi in Peninsular Scandinavian", ใน Anderson, Henning (บ.ก.), Sandhi Phenomena in the Languages of Europe, Berlin: de Gruyter, pp. 271–300
  • Keane, Elinor (2004), "Tamil", Journal of the International Phonetic Association, 34 (1): 111–116, doi:10.1017/S0025100304001549
  • Ladefoged, Peter (2005), Vowels and Consonants (Second ed.), Blackwell
  • Thompson, Laurence (1959), "Saigon phonemics", Language, 35 (3): 454–476, doi:10.2307/411232, JSTOR 411232