เวิลด์เกมส์ 2009

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เวิลด์เกมส์ครั้งที่ 8
第八屆世界運動會
Dì bā jiè shìjiè yùndònghuì
เมืองเจ้าภาพเกาสฺยง ประเทศไต้หวัน
ภายใต้การกำหนดของ IWGA: จีนไทเป
คำขวัญTop Sports – High Spirits
ประเทศเข้าร่วม101
นักกีฬาเข้าร่วม4,800 คน โดยประมาณ
ชนิด165 (35 ชนิดกีฬา)
พิธีเปิด16 กรกฎาคม ค.ศ. 2009
พิธีปิด26 กรกฎาคม ค.ศ. 2009
ประธานพิธีเปิดประธานาธิบดี หม่า อิงจิ่ว
สนามกีฬาหลักสนามกีฬาแห่งชาติเกาสฺยง

เวิลด์เกมส์ 2009 (อังกฤษ: The World Games 2009; จีน: 2009年世界運動會; พินอิน: 2009 Nián shìjiè yùndònghuì) หรือ เกาสฺยง 2009 (อังกฤษ: Kaohsiung 2009) เป็นการแข่งขันกีฬาเวิลด์เกมส์ ครั้งที่ 8 จัดขึ้นที่เมืองเกาสฺยง ประเทศไต้หวัน ระหว่างวันที่ 16-26 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ประกอบด้วยการแข่งขันชนิดกีฬาที่ไม่ได้แข่งขันในกีฬาโอลิมปิก

นักกีฬา เจ้าหน้าที่ ผู้ฝึกสอน ผู้ตัดสิน และอื่นๆ เกือบ 6,000 คนจาก 101 ประเทศเข้าร่วมในการแข่งขันเกาสฺยงเวิลด์เกมส์ 2009 ซึ่งสร้างสถิติสูงสุดสำหรับการแข่งขันกีฬาหลายประเภท Ron Froehlich ประธานสมาพันธ์เวิลด์เกมส์นานาชาติ (IWGA) ยกย่องว่าการแข่งขันวันที่ 16–26 กรกฎาคมว่าเป็น "การแข่งขันที่ดีที่สุดเท่าที่เคยมีมา""[1]

ประเทศที่เข้าร่วมแข่งขัน[แก้]

ประเทศที่เข้าร่วมแข่งขัน

ตารางสรุปเหรียญรางวัล[แก้]

การนับเหรียญมีดังนี้ รัสเซียได้รับรางวัลเหรียญทองมากที่สุดในครั้งนี้[2][3][4]

  *  เจ้าภาพ (จีนไทเป)

ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1 รัสเซีย (RUS)19131547
2 อิตาลี (ITA)16121341
3 จีน (CHN)1410529
4 สหรัฐ (USA)138526
5 ฝรั่งเศส (FRA)11141338
6 ยูเครน (UKR)[a]9121031
7 จีนไทเป (TPE)*89724
8 เยอรมนี (GER)661022
9 เกาหลีใต้ (KOR)63514
10 ออสเตรเลีย (AUS)510520
11 บริเตนใหญ่ (GBR)46919
12 ญี่ปุ่น (JPN)45615
13 โคลอมเบีย (COL)45312
14 เนเธอร์แลนด์ (NED)45211
15 สวิตเซอร์แลนด์ (SUI)3407
16 บราซิล (BRA)[a]3238
17 นิวซีแลนด์ (NZL)24511
18 เบลเยียม (BEL)2417
19 สโลวาเกีย (SVK)2338
20 ฟินแลนด์ (FIN)2316
21 สเปน (ESP)2305
22 สโลวีเนีย (SLO)2204
23 ออสเตรีย (AUT)2125
24 โครเอเชีย (CRO)2035
25 มองโกเลีย (MGL)1304
26 แคนาดา (CAN)1124
 โปแลนด์ (POL)1124
28 กรีซ (GRE)1113
29 โรมาเนีย (ROU)1102
30 มาเลเซีย (MAS)1034
31 เวเนซุเอลา (VEN)1023
 ไทย (THA)1023
33 คาซัคสถาน (KAZ)1012
 ชิลี (CHI)1012
 บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา (BIH)1012
 อินโดนีเซีย (INA)1012
 ฮังการี (HUN)[b]1012
38 ฟีจี (FIJ)1001
 เม็กซิโก (MEX)1001
 เวียดนาม (VIE)1001
 เอสโตเนีย (EST)1001
42 โปรตุเกส (POR)0202
43 อียิปต์ (EGY)0145
44 นอร์เวย์ (NOR)0123
 แอฟริกาใต้ (RSA)0123
46 สวีเดน (SWE)0112
 อาเซอร์ไบจาน (AZE)0112
48 ลิทัวเนีย (LTU)0101
 สาธารณรัฐโดมินิกัน (DOM)0101
 อาร์เจนตินา (ARG)0101
 ฮ่องกง (HKG)0101
 เดนมาร์ก (DEN)0101
53 ตุรกี (TUR)0033
54 มอนเตเนโกร (MNE)0022
55 บัลแกเรีย (BUL)0011
 ฟิลิปปินส์ (PHI)0011
 ลักเซมเบิร์ก (LUX)0011
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (UAE)0011
 อิสราเอล (ISR)0011
 เช็กเกีย (CZE)0011
 เบลารุส (BLR)0011
รวม (61 ประเทศ)162163165490

หมายเหตุ[แก้]

  1. 1.0 1.1 In 2009, Ukraine was stripped of two gold medals in bodybuilding for doping, and Qatar and Brazil were each stripped of a silver medal. This table does not include those stripped medals, and neither does it include possible reallocation of those medals, as the results at the World Games website do not reflect a reallocation.[2]
  2. Hungary was stripped of a gold medal in sumo for doping. This table reflects the reallocation of medals specified by the International Sumo Federation.[2][3]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Best Games Ever end on a high note". Taiwan Public Television Service Online. July 26, 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-10-08.
  2. 2.0 2.1 2.2 "2009 Kaohsiung: Doping Violations". International World Games Association. สืบค้นเมื่อ 2017-11-12.
  3. 3.0 3.1 "The World Games 2009 Kaohsiung". International Sumo Federation. สืบค้นเมื่อ 2017-11-12.
  4. "Results of the World Games". International World Games Association. สืบค้นเมื่อ 2015-10-26.