เรือดำน้ำรัสเซียคูสค์ (เค-141)
ประวัติ | |
---|---|
![]() | |
ชื่อ | K-141 คูสค์ |
ตั้งชื่อตาม | ยุทธการที่คูสค์ |
ปล่อยเรือ | ค.ศ. 1990 |
เดินเรือแรก | ค.ศ. 1994 |
เข้าประจำการ | 30 ธันวาคม ค.ศ. 1994 |
Stricken | 12 สิงหาคม ค.ศ. 2000 |
ความเป็นไป | ลูกเรือทั้งหมด 118 นายเสียชีวิตในความลึก 100 m (330 ft) ในทะเลแบเร็นตส์ เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม ค.ศ. 2000 |
สถานะ | กู้ขึ้นจากก้นทะเล (ยกเว้นหัวเรือ) ลากจูงไปยังอู่ต่อเรือ และรื้อถอน |
ลักษณะเฉพาะ | |
ชั้น: | ข้อผิดพลาดสคริปต์: ฟังก์ชัน "sclass" ไม่มีอยู่ |
ขนาด (ระวางขับน้ำ): | 13,400 ถึง 16,400 ตัน (13,200 ถึง 16,100 long ton; 14,800 ถึง 18,100 short ton)[โปรดขยายความ] |
ความยาว: | 154.0 m (505.2 ft) |
ความกว้าง: | 18.2 m (60 ft) |
กินน้ำลึก: | 9.0 m (29.5 ft) |
ระบบขับเคลื่อน: | เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ OK-650b 2 เครื่อง (HEU <= 45%[1]) กังหันไอน้ำ 2 ตัว ใบพัด 7 ใบ 2 ตัว |
ความเร็ว: | 32 นอต (59 กิโลเมตรต่อชั่วโมง; 37 ไมล์ต่อชั่วโมง) ใต้น้ำ, 16 นอต (30 กิโลเมตรต่อชั่วโมง; 18 ไมล์ต่อชั่วโมง) ลอยน้ำ |
ทดสอบความลึก: | 300 ถึง 500 m (980 ถึง 1,640 ft) โดยการประเมินที่แตกต่างกัน |
อัตราเต็มที่: | เจ้าหน้าที่ 44 นาย ลูกเรือ 68 นาย |
ยุทโธปกรณ์: | ขีปนาวุธ SS-N-19/P-700 Granit 24 ลูก ท่อตอร์ปิโด 533 mm (21 in) 4 ท่อ และ 650 mm (26 in) 2 ท่อ (หัวเรือ); ตอร์ปิโด 24 ลูก |
หมายเหตุ: | ท่าเรือบ้าน: วีดยาเยโว, รัสเซีย |
K-141 คูสค์ (รัสเซีย: Курск)[หมายเหตุ 1] เป็นเรือดำน้ำชั้นออสการ์ II ที่ใช้พลังงานนิวเคลียร์และติดขีปนาวุธนำวิถีของกองทัพเรือรัสเซีย เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม ค.ศ. 2000 K-141 คูสค์ ได้อับปางลงในทะเลแบเร็นตส์เป็นเหตุให้ลูกเรือทั้ง 118 นายเสียชีวิต
การก่อสร้าง
[แก้]
K-141 คูสค์ เป็นเรือดำน้ำโครงการ 949A ชั้น อันเตย์ (รัสเซีย: Антей, หมายถึง อันเทอัส) ซึ่งเป็นเรือดำน้ำชั้นออสการ์ที่รู้จักกันในชื่อ ออสการ์ II ตามรายงานชื่อรหัสของนาโต้และเป็นเรือดำน้ำลำรองสุดท้ายของชั้นออสการ์ II ที่ถูกออกแบบและอนุมัติในสหภาพโซเวียต การก่อสร้างเริ่มต้นในปี ค.ศ. 1990 ที่อู่ต่อเรือทางทหารของกองทัพเรือโซเวียตในเมืองเซเวรอดวินสค์ใกล้อาร์ฮันเกลสค์ในพื้นที่ตอนเหนือของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย ระหว่างการก่อสร้างเรือ K-141 สหภาพโซเวียตได้ล่มสลาย แต่การก่อสร้างยังคงดำเนินต่อไป และเรือลำนี้กลายเป็นหนึ่งในเรือรบลำแรกที่สร้างเสร็จหลังการล่มสลายดังกล่าว ในปี ค.ศ. 1993 K-141 ได้รับการตั้งชื่อว่า คูสค์ ตาม ยุทธการที่คูสค์[2] เนื่องในโอกาสครบรอบ 50 ปีของยุทธการนี้ K-141 ได้ตกเป็นกรรมสิทธิ์ของรัสเซียและถูกปล่อยลงน้ำในปี ค.ศ. 1994 ก่อนที่จะเข้าประจำการในกองทัพเรือรัสเซียเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม ในฐานะส่วนหนึ่งของกองเรือภาคเหนือของรัสเซีย[3]
คูสค์ ได้รับมอบหมายให้ประจำอยู่ที่ท่าเรือต้นทางในวีดยาเยโว แคว้นมูร์มันสค์
หมายเหตุ
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Marine Nuclear Power:1939 – 2018" (PDF). July 2018. สืบค้นเมื่อ 30 ธันวาคม ค.ศ. 2022.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ ""Курск": 15 лет со дня гибели". ТАСС (ภาษารัสเซีย). สืบค้นเมื่อ 2017-08-26.
- ↑ Potts, J.R. (5 กันยายน 2013). "K-141 Kursk Attack Submarine (1994)". militaryfactory.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2014. สืบค้นเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2014.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- Project 949 Granit / Oscar I Project 949A Antey / Oscar II
- BBC: Kursk mistakes haunt Russia
- Siegel, Robert; Moore, Robert (13 January 2003). "'A Time to Die': The Kursk Disaster". NPR. สืบค้นเมื่อ 14 September 2009.
- Kursk on the wrecksite, chart and position
- Kursk memorial website
- Risks and hazards during the recovery of the Kursk
- A detailed timeline of the recovery operations
- Raising the Kursk, 31-minute technical documentary video