เพลงเกียรติยศ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

เพลงเกียรติยศ (อังกฤษ: honors music) เป็นเพลงสำหรับใช้บรรเลงเป็นเกียรติยศแก่บุคคล ผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญ หรือผู้มียศทางทหารต่างๆ ในโอกาสต่างๆ ประมุขแห่งรัฐต่างๆ นั้นย่อมได้รับเกียรติจากบรรเลงเพลงเกียรติยศ ซึ่งในบางประเทศก็ใช้เพลงชาติในหน้าที่ดังกล่าวด้วย บางประเทศอาจใช้ "เพลงประจำตำแหน่งประธานาธิบดี" (presidential anthem) หรือ "เพลงสรรเสริญพระบารมี" (royal anthem) บรรเลงเป็นเพลงเกียรติยศแทน

เพลงเกียรติยศในปัจจุบัน[แก้]

ประเทศที่มีเพลงชาติซึ่งใช้ในฐานะเพลงสรรเสริญพระบารมีด้วย ได้แก่ สหราชอาณาจักร เนเธอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ เกาะนอร์โฟล์ค และ สเปน

ประเทศ ตำแหน่ง/ยศ ชื่อเพลง หมายเหตุ
ออสเตรเลีย พระมหากษัตริย์ "ก็อดเซฟเดอะควีน"[1]
ผู้สำเร็จราชการ Vice-regal salute[1] ห้องเพลงแรกและสี่ห้องเพลงสุดท้ายของเพลงชาติออสเตรเลีย "แอดวานซ์ออสเตรเลียแฟร์"[1]
บราซิล ประธานาธิบดี "Continências ao Presidente da República" ห้องเพลงแรกและสี่ห้องเพลงสุดท้ายของเพลงชาติบราซิล
แคนาดา พระมหากษัตริย์ "ก็อดเซฟเดอะควีน"[2]
สมาชิกในราชวงศ์ 6 ห้องเพลงแรกของ "ก็อดเซฟเดอะควีน"[2]
ผู้สำเร็จราชการ, ผู้ว่าการรัฐ "Salute to the Governor General / Lieutenant Governor", นิยมเรียกว่า Vice Regal Salute 6 ห้องเพลงแรกของ "ก็อดเซฟเดอะควีน ต่อด้วย 4 ห้องเพลงแรกและ 4 ห้องเพลงสุดท้ายของ "โอแคนาดา" อันเป็นเพลงชาติ สำหรับวงปี่สก็อต ใช้เพลง "Mallorca" ต่อด้วยเพลง "โอแคนาดา" แทน[2]
เดนมาร์ก พระมหากษัตริย์ "Kong Kristian stod ved højen mast" "King Christian stood by the lofty mast"
ฟินแลนด์ ประธานาธิบดี (ผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งกองทัพฟินแลนด์) "Porilaisten marssi" "มาร์ชประชาชนแห่งเมืองโปรี"
ไฮติ ประธานาธิบดี "Chant Nationale" "เพลงประจำชาติ" บทกวีโดย ออสวอลด์ ดูรังด์ (Oswald Durand) เรียบเรียงทำนองโดย อ็อกซีด ฌองตี (Occide Jeanty) ประพันธ์เมื่อ พ.ศ. 2437 เพื่อใช้เป็นเพลงชาติ ต่อมาถูกแทนที่ด้วยเพลง "ลาเดสซาลีเนีย" (La Dessalinienne) ในปี พ.ศ. 2447[3]
ไอร์แลนด์ ประธานาธิบดี เพลงคำนับประธานาธิบดี (Presidential Salute) 4 ห้องเพลงแรกและ 5 ห้องเพลงสุดท้ายของเพลงชาติไอร์แลนด์ "อัมราน นา บัฟฟิฟานน์"[4]
ไอร์แลนด์ นายกรัฐมนตรี (Taoiseach) "อัมราน โดเชส์" (Amhrán Dóchais) "เพลงแห่งความหวัง" คำร้องโดย ออสบอร์น เบอร์กิน (Osborn Bergin) เรียบเรียงตามทำนองเพลงพื้นเมืองโดย อลยอส์ เฟลสชมันน์ (Aloys Fleischmann)[5]
เกาหลีเหนือ คิม จอง อึนSupreme Leader "Song of Happiness for the Great Leader"
เกาหลีใต้ ประธานาธิบดี BongWhang modified version of Star March,played during Military Parade attend by the President
ทหารชั้นนายพล Star March แบับสังเขป
ลักเซมเบิร์ก พระมหากษัตริย์ "Wilhelmus" (Zwé Kinnégskanner) รูปแบบหนึ่งที่แปลงจากเพลง "วิลเฮลมัส" ซึ่งเป็นเพลงชาติและเพลงสรรเสริญพระบารมีของเนเธอร์แลนด์
มาเลเซีย ยังดี เปอร์ตวน อากง
รายา ประไหมสุหรี อากง
นการากู
ยังดี ปุตรา เนเกรี ฉบับสังเขป ห้องเพลงแรก และ ห้องเพลงสุดท้าย สำหรับทำความเคารพผู้สำเร็จราชการ.[6] ในกรณีที่เป็นการคำนับสุลต่านในแต่ละรัฐ. มีการบรรเลงเพลงประจำรัฐต่อท้ายเพลงชาติฉบับสังเขป[6]
State monarchs เพลงชาติฉบับย่อ บรรเลงในงานพิธีไม่เป็นทางการที่สมเด็จพระราชาธิบดีเสด็จเป็นการส่วนพระองค์ ในบางโอกาสมีการบรรเลงเพลงประจำรัฐต่อท้าย.[6]
นิวซีแลนด์ พระมหากษัตริย์ "ก็อดเซฟเดอะควีน"[7] 1 ใน 2 เพลงที่ใช้เป็นเพลงชาตินิวซีแลนด์ ซึ่งอีกเพลงหนึ่งคือ"ก็อดดีเฟนด์นิวซีแลนด์" (God Defend New Zealand)[7]
ผู้สำเร็จราชการ Salute to the Governor General 6 ห้องเพลงแรกของ "ก็อดเซฟเดอะควีน และ [8] The anthem may also be played in full.[7]
นอร์เวย์ พระมหากษัตริย์ "คองเงอซังเงิน" "เพลงของพระเจ้าแผ่นดิน" เพลงนี้ดัดแปลงจาก "ก็อดเซฟเดอะควีน"
ฟิลิปปินส์ ประธานาธิบดี "ปารังกัล ซา ปังกูโล"
"มาบูฮาย"[9]
คำว่า "มาบูฮาย" (mabuhay) มีความหมายว่า "ยินดีต้อนรับ" บรรเลงในขณะประธานาธิบดีเดินทางถึงสถานที่แห่งนั้น ดนตรีโดย ติโต ครูซ จูเนียร์ (Tito Cruz, Jr.)[10]
สเปน พระมหากษัตริย์ "มาร์ชาเรอัล"
เจ้าชายแห่งอัสตูเรียส ฉบับสังเขป
สิงคโปร์ ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี ฉบับสังเขป (บรรเลง 6 ห้องเพลงแรก)
สวีเดน พระมหากษัตริย์ "คองซานเก็น" "เพลงพระเจ้าแผ่นดิน"
ไทย พระมหากษัตริย์ "เพลงสรรเสริญพระบารมี"
พระบรมวงศานุวงศ์ และ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ "เพลงมหาชัย" ใช้บรรเลงเป็นเพลงเดินธงขณะที่ทำการเชิญธงชัยเฉลิมพล ในพิธีการทางทหาร
เชื้อพระวงศ์ที่ต่ำกว่าชั้นพระบรมวงศ์ ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ และ ผู้บัญชาการเหล่าทัพ "เพลงมหาฤกษ์"
สหรัฐอเมริกา ประธานาธิบดี "Hail to the Chief"[11]
รองประธานาธิบดี "Hail Columbia"[11]
ผู้ดำรงตำแหน่งต่างๆ[fn 1] Honors March 1 เพลง "Stars and Stripes Forever" บรรเลงเมดเลย์ 32 ห้องเพลง [11]
นายทหารระดับพลตรีขึ้นไป "General's March"[11] Honors March 2
นายทหารระดับพลเรือตรีขึ้นไป "Admiral's March"[11] Honors March 3
นายทหารระดับพลอากาศตรี พลตรีแห่งกองทัพนาวิกโยธิน และพลตรีแห่งหน่วยรักษาฝั่งของสหรัฐขึ้นไป "Flag Officer's March"[11] Honors March 4
เวเนซุเอลา ประธานาธิบดี "Hymn to the Liberator Simon Bolivar" (อิมโน โบลีวาร์), (บรรเลงโดยวงดุริยางค์ทหารเท่านั้น),
"โกลเรียอัลบราโบปวยโบล" (ฉบับสั้น หรือ ฉบับพิธีการ บรรเลงโดยวงดุริยางค์ทหาร),
"National Salute March" (Marcha Regular) (for Corps of drums only)
1. เพลงต้อนรับ, บรรเลงในขณะประธานาธิบดีเดินทางถึงสถานที่แห่งนั้น
2. เพลงชาติ (บทประสานเสียง,เนื้อร้องบทที่1 และ บทประสานเสียง) บรรเลงโดยวงดุริยางค์ประกอบการขับร้อง ส่วนฉบับสังเขป (เฉพาะบทประสานเสียง) สำหรับการเคารพธงชาติและธงทหารขณะคลี่ธง
3. บรรเลงเฉพาะพิธีการทางทหาร ในฐานะผู้บัญชาการทหารสูงสุด, ในบางโอกาสอาจใช้เพลงนี้สำหรับการเคารพธงทหารขณะคลี่ธง
รองประธานาธิบดี "Vice Presidential Salute" (Honores al Vice Presidente) บรรเลงโดยแตรเป่าคำนับ
หมายเหตุ
  1. House Speaker; Cabinet members; Senate President pro tem; state governors; Chief Justice; Department of Defense official ranked Assistant Secretary or higher; senior diplomats; chairmen of committees of Congress; brigadier generals

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 "16.3 Australian national anthem". Protocol Guidelines. Department of Foreign Affairs and Trade (Australia). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-04-12. สืบค้นเมื่อ 2009-03-11.
  2. 2.0 2.1 2.2 "Honours and salutes: Musical salute". Ceremonial and Canadian Symbols Promotion. Canadian Heritage. 2008-12-11. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-04-03. สืบค้นเมื่อ 2009-03-11.
  3. Victor, A.J. "Haitian Patriotic Songs". ayitihistory.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-04-25. สืบค้นเมื่อ 2009-03-11.
  4. "National Anthem". Department of the Taoiseach. สืบค้นเมื่อ 2009-03-11.
  5. Ruth Fleischmann, บ.ก. (2000). Aloys Fleischmann (1910 – 1992): A Life for Music in Ireland Remembered by Contemporaries. Cork: Mercier Press. pp. 11–17. ISBN 1856353281. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-04-24. สืบค้นเมื่อ 2009-06-02.
  6. 6.0 6.1 6.2 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ malaysia1968
  7. 7.0 7.1 7.2 "Protocol for using New Zealand's National Anthems". Ministry for Culture and Heritage (New Zealand). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-04-24. สืบค้นเมื่อ 2009-03-11.
  8. "Instructions for Playing the Anthem". Encyclopaedia of New Zealand. Ministry for Culture and Heritage (New Zealand). 1966. If the first six bars only are used, as for a salute to the Governor-General as the Queen's representative, the anthem is to be played “fortissimo” at M.M. 60 crotchets.
  9. Quezon, Manuel L. (2004-06-24). "The Long view". Philippine Daily Inquirer. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-02-26. สืบค้นเมื่อ 2009-03-11.
  10. Quezon, Manuel (2008-08-01). "Obsession with appearances". Cebu Daily News. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-04-26. สืบค้นเมื่อ 2009-03-11.
  11. 11.0 11.1 11.2 11.3 11.4 11.5 "Army Regulation 600–25: Salutes, Honors, and Visits of Courtesy". U.S. Department of the Army. 2004-09-24. pp. 5–6, Table 2-1. สืบค้นเมื่อ 2009-03-11.