ข้ามไปเนื้อหา

เทอร์คอยส์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เทอร์คอยส์
การจำแนก
ประเภทแร่ฟอสเฟต
สูตรเคมีCuAl6(PO4)4(OH)8·4H2O
คุณสมบัติ
รูปแบบผลึกแน่น, กลม
โครงสร้างผลึกTriclinic
แนวแตกเรียบแร่มีแนวแตกสมบูรณ์แบบตามระนาบ {001}, แร่มีแนวแตกดีตามระนาบ {010} แต่อาจไม่พบเห็นได้ง่าย
รอยแตกConchoidal
ค่าความแข็ง5–6
ความวาวมีความวาวใกล้เคียงกับแก้ว
ดรรชนีหักเหnα = 1.610
nβ = 1.615
nγ = 1.650
คุณสมบัติทางแสงBiaxial (+)
ค่าแสงหักเหสองแนว+0.040
การเปลี่ยนสีWeak
สีผงละเอียดสีน้ำเงินขาว
ความถ่วงจำเพาะ2.6–2.9
การหลอมตัวสามารถหลอมได้ใน HCl
สภาพละลายได้สามารถละลายได้ใน HCl
ความโปร่งทีบ
อ้างอิง: [1][2][3]

เทอร์คอยส์ (อังกฤษ: Turquoise) เป็นแร่ทึบแสง สีน้ำเงินออกเขียว ที่เป็นไฮดรัสฟอสเฟตของ ทองแดงและอะลูมิเนียม โดยมีสูตรเคมีCuAl6(PO4)4(OH)8·4H2O เป็นอัญมณีที่หายากและมีค่าเมื่ออยู่ในเกรดดี และถือว่าเป็นอัญมณี มาหลายพันปีเนื่องจากสีสันของแร่

เช่นเดียวกับอัญมณีทึบแสงชนิดอื่น ๆ ส่วนใหญ่ เทอร์คอยส์มีมูลค่าลดน้อยลงเนื่องจากมีการนำการปรับปรุงคุณภาพ ทำเลียนแบบ และวัสดุสังเคราะห์เข้ามาสู่ตลาด สีฟ้าไข่นกโรบินหรือสีฟ้าท้องฟ้า ของเทอร์คอยส์เปอร์เซีย ที่ขุดได้ใกล้กับเมืองนีชอบูร์ ในปัจจุบันของประเทศอิหร่าน ถูกนำมาใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงในการประเมินคุณภาพของเทอร์คอยส์[4]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Hurlbut, Cornelius S.; Klein, Cornelis (1985). Manual of Mineralogy (20th ed.). New York: John Wiley & Sons. ISBN 978-0-471-80580-9.
  2. แม่แบบ:Mindat. "Turquoise: Turquoise mineral information and data". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-11-12. สืบค้นเมื่อ 2006-10-04.{{cite web}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์).
  3. Anthony, John W.; Bideaux, Richard A.; Bladh, Kenneth W.; Nichols, Monte C., บ.ก. (2000). "Turquoise" (PDF). Handbook of Mineralogy. Vol. IV. Chantilly, Virginia: Mineralogical Society of America. ISBN 978-0-9622097-3-4. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-02-11.
  4. "Turquoise Quality Factors". Gemological Institute of America.