เต่าบึงหัวเหลือง
ระวังสับสนกับ: เต่าบึงเหลือง
เต่าบึงหัวเหลือง | |
---|---|
![]() | |
เต่าบึงหัวเหลืองในศูนย์อนุรักษ์เต่า Cuc Phuong ประเทศเวียดนาม | |
สถานะการอนุรักษ์ | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ ![]() | |
โดเมน: | ยูแคริโอตา Eukaryota |
อาณาจักร: | สัตว์ Animalia |
ไฟลัม: | สัตว์มีแกนสันหลัง Chordata |
ชั้น: | สัตว์เลื้อยคลาน |
อันดับ: | เต่า |
อันดับย่อย: | เต่า Cryptodira |
วงศ์ใหญ่: | Testudinoidea |
วงศ์: | วงศ์เต่านา |
สกุล: | เต่าบึง (Boulenger, 1903)[3] |
สปีชีส์: | Heosemys annandalii |
ชื่อทวินาม | |
Heosemys annandalii (Boulenger, 1903)[3] | |
ชื่อพ้อง[4] | |
|
เต่าบึงหัวเหลือง เต่าบัว หรือ เต่าหม้อ[5] (; ชื่อวิทยาศาสตร์: Heosemys annandalii) เป็นชนิดของเต่าขนาดใหญ่ในวงศ์ Geoemydidae ซึ่งพบเฉพาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ศัพทมูลวิทยา
[แก้]ชื่อสามัญ yellow-headed temple turtle มาจากว่ามักพบในบริเวณใกล้วัดพุทธภายในขอบเขตการอยู่อาศัยของเต่าชนิดนี้[6]
ชื่อเฉพาะ annandalii ตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่ Nelson Annandale นักวิทยาสัตว์เลื้อยคลานชาวสก็อต[7]
ลักษณะ
[แก้]H. annandalii อาจเติบโตได้ถึงกว่า 20 นิ้ว (51 ซม.) โดยมีความยาวกระดองหลังตรง และหนักได้ถึง 12 กิโลกรัม[6]
พฤติกรรม
[แก้]H. annandalii เป็นสัตว์น้ำโดยทั่วไปเป็นสัตว์กินพืช[6]
สถานะการอนุรักษ์
[แก้]อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ (CITES) ระงับการค้าเต่าบึงหัวเหลืองในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2012[8]
ที่อยู่ทางภูมิศาสตร์
[แก้]H. annandalii พบได้ในประเทศกัมพูชา ประเทศลาว ประเทศมาเลเซีย ประเทศไทย ประเทศเวียดนาม และอาจพบในประเทศเมียนมาร์[3][4]
ที่อยู่อาศัย
[แก้]
แหล่งที่อยู่ตามธรรมชาติที่ต้องการของ H. annandalii คือป่าและพื้นที่ชุ่มน้ำจืด[1]
การเลี้ยง
[แก้]H. annandalii อาจมีชีวิตอยู่ในที่เลี้ยงได้นานถึง 35 ปี[ต้องการอ้างอิง]
เต่าสองตัวถูกฟักออกมาในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2019 ที่สวนสัตว์และพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำโคลัมบัส Heosemys annadali ได้รับการเพาะพันธุ์ในที่เลี้ยง[9]
ปรสิต
[แก้]
ปลิง Placobdelloides siamensis เป็นปรสิตภายนอกของเต่าชนิดนี้[10]
เชิงอรรถและอ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 Cota, M.; Horne, B.D.; McCormack, T.; Timmins, R.J. (2021). "Heosemys annandalii". IUCN Red List of Threatened Species. 2021: e.T10041A495907. doi:10.2305/IUCN.UK.2021-1.RLTS.T10041A495907.en. สืบค้นเมื่อ 19 November 2021.
- ↑ "Appendices | CITES". cites.org. สืบค้นเมื่อ 2022-01-14.
- ↑ 3.0 3.1 Rhodin 2011, p. 000.190
- ↑ 4.0 4.1 Fritz 2007, p. 224
- ↑ กําหนดชนิดสัตว์น้ำที่ห้ามนําเข้า ส่งออก หรือนําผ่านราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๙. "Wayback Machine" (PDF). www4.fisheries.go.th. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-12-05. สืบค้นเมื่อ 2025-03-18.
- ↑ 6.0 6.1 6.2 "เต่าบึงหัวเหลือง". bedo.or.th. สืบค้นเมื่อ 2025-03-18.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ Beolens, Bo; Watkins, Michael; Grayson, Michael (2011). The Eponym Dictionary of Reptiles. Baltimore: Johns Hopkins University Press. xiii + 296 pp. ISBN 978-1-4214-0135-5. (Hieremys annandalii, p. 9).
- ↑ "Times-Tribune CITES 2012". 27 กรกฎาคม 2012.
- ↑ "Yellow-headed temple turtles hatch at the Turtle Conservation Centre in Cuc Phuong National Park, Vietnam". (10 April 2015). Asian Turtle Program. Archived from the original 8 January 2020.
- ↑ Chiangkul, Krittiya; Trivalairat, Poramad; Purivirojkul, Watchariya (2018). "Redescription of the Siamese shield leech Placobdelloides siamensis with new host species and geographic range". Parasite. 25: 56. doi:10.1051/parasite/2018056. ISSN 1776-1042. PMC 6254108. PMID 30474597.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Heosemys annandalii
- บรรณานุกรม
- Rhodin, Anders G.J.; van Dijk, Peter Paul; Iverson, John B.; Shaffer, H. Bradley; Bour, Roger (2011-12-31). "Turtles of the world, 2011 update: Annotated checklist of taxonomy, synonymy, distribution and conservation status" (PDF). Chelonian Research Monographs. 5. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-01-31.
- Fritz, Uwe; Havaš, Peter (2007). "Checklist of Chelonians of the World". Vertebrate Zoology. 57 (2): 149–368. doi:10.3897/vz.57.e30895.
อ่านเพิ่มเติม
[แก้]- Boulenger GA (1903). "Report on the Batrachians and Reptiles". pp. 131–178. In: Annandale N, Robinson HC (1903). Fasciculi Malayenses: Anthropological and Zoological Results of an Expedition to Perak and the Siamese Malay States, 1901-1902. Zoology, Part I. London, New York and Bombay: Longmans, Green & Co. for The University Press of Liverpool. 189 pp. (Cyclemys annandalii, new species, pp. 142–144 + Plates VII-VIII).
- Chan-ard, Tanya; Parr, John W.K.; Nabhitabhata, Jarujin (2015). A Field Guide to the Reptiles of Thailand. New York: Oxford University Press. 314 pp. ISBN 978-0-19-973649-2 (hardcover), ISBN 978-0-19-973650-8 (paperback).
- Smith MA (1931). The Fauna of British India, Including Ceylon and Burma. Reptilia and Amphibia. Vol. I.—Loricata, Testudines. London: Secretary of State for India in Council. (Taylor and Francis, printers). xxviii + 185 pp. + Plates I-II. ("Hieremys annandalei [sic]", pp. 107–109, Figures 24-25).