เซซามี จงเปิด

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อะลีบาบาได้ยินโจรคนหนึ่งพูดว่า "เซซามี จงเปิด"

"เซซามี จงเปิด" (อังกฤษ: Open sesame; ฝรั่งเศส: Sésame, ouvre-toi; อาหรับ: افتح يا سمسم) เป็นประโยควิเศษ (Magic word) ในนิทาน "อะลีบาบากับโจรหนุ่มสี่สิบคน" ใน อาหรับราตรี โดยจะเปิดถ้ำที่พวกโจรสี่สิบคนเก็บสมบัติที่ขโมยมา คำนี้มีที่มาจากต้นงา

เอกสาร[แก้]

ประโยคนี้ปรากฎครั้งแรกในหนังสือ อาหรับราตรี ฉบับภาษาฝรั่งเศสของอ็องตวน กัลลันด์ (Antoine Galland) ในชื่อ Sésame, ouvre-toi (อังกฤษ: "Sesame, open yourself" แปลตรงตัว: เซซามี จงเปิดตนเอง)[1] ในเรื่องนั้น อะลีบาบาได้ยินโจรคนหนึ่งจาก 40 คนพูดว่า "เซซามี จงเปิด" พี่ชายของเขาจำคำนั้นไม่ได้ และสับสนกับชื่อของเมล็ดธัญพืชพันธ์ุอื่นที่ไม่ใช่ต้นงา และติดอยู่ในถ้ำวิเศษ

ประโยคนี้ถูกแปลจากภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาอังกฤษในหลายรูปแบบ เช่น "Sesame, open",[2] "Open, sesame" และ "Open, O sesame".[3]

ต้นกำเนิด[แก้]

เมล็ดต้นงาเติบโตในฝักเมล็ด เมื่อต้นงาเจริญเติบโตเต็มที่ มันจึงปริฝักออก[4] และประโยคนั้นอาจเป็นปฏิรูปพจน์ที่จะค้นพบสมบัติ[5] ถึงแม้ว่า มันยังไม่เป็นที่แน่ชัดว่าคำว่า "เซซามี" นั้นคือต้นหรือเมล็ดงากันแน่[6]

ทฤษฎีอื่นได้แก่:

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Les mille et une nuits : contes arabes / traduits par Galland, ornés de gravures". Gallica.bnf.fr. 2009-05-25. สืบค้นเมื่อ 2013-08-15.
  2. "The Novelist's Magazine - Google Boeken". 1785. สืบค้นเมื่อ 2013-08-15.
  3. Burton
  4. "Sesame: Origin, History, Etymology and Mythology". MDidea.com. 2015-11-30. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-09-05. สืบค้นเมื่อ 2018-01-25.
  5. "Open Sesame". The New York Times Magazine. 2015-04-08. สืบค้นเมื่อ 2018-01-25.
  6. Armstrong, Marian (2007). Wildlife and Plants. Vol. 16. Marshall Cavendish. p. 972. ISBN 978-0761477105. สืบค้นเมื่อ 2014-12-24.
  7. Felix Ernst Peiser in Orientalistische Literaturzeitung (1902), as reported in Haupt.
  8. Theodor Nöldeke in Zeitschrift für Assyriologie (1914), as reported in Haupt.

สารานุกรม[แก้]

  • (ในภาษาอังกฤษ) Paul Haupt, "Open Sesame" in Beiträge zur assyriologie und semitischen sprachwissenschaft 10:2, 1927, p. 165ff. Originally presented at the meeting of the American Oriental Society, Washington, April 15, 1916.