ข้ามไปเนื้อหา

เจ1 ลีก ฤดูกาล 2020

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เมะอิจิ ยะสุดะ เจ1 ลีก
ฤดูกาล2020
วันที่21-23 กุมภาพันธ์
4 กรกฎาคม – 19 ธันวาคม ค.ศ. 2020 (ต่อเนื่อง)
ทีมชนะเลิศคาวาซากิ ฟรอนตาเล (สมัยที่ 3)
ตกชั้นไม่มี (สำหรับฤดูกาล 2020 เท่านั้น)
จำนวนนัด306
จำนวนประตู857 (2.8 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดไมเคิล โอลุงก้า
(28 ประตู)
ทีมเหย้า
ชนะสูงสุด
อูราวะ เรดไดมอนส์ 6–0 เวกัลตะ เซ็นได
(18 ตุลาคม ค.ศ. 2020)
ทีมเยือน
ชนะสูงสุด
คอนซาโดเล ซัปโปโระ 1–6 คะวะซะกิ ฟรอนตาเล
(15 สิงหาคม ค.ศ. 2020)
จำนวนประตูสูงสุด นาโงยะ แกรมปัส 6–2 อูราวะ เรดไดมอนส์
(8 สิงหาคม ค.ศ. 2020)
โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส 6–2 อูราวะ เรดไดมอนส์
(14 พฤศจิกายน ค.ศ. 2020)
ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
12 นัด
คะวะซะกิ ฟรอนตาเล
ไม่แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
13 นัด
คะวะซะกิ ฟรอนตาเล
ไม่ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
17 นัด
เวกัลตะ เซ็นได
แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
7 นัด
ชิมิซุ เอส-พัลส์
จำนวนผู้ชมรวม17,615
จำนวนผู้ชมเฉลี่ย6,280
2019
2021

การแข่งขันฟุตบอล เจลีก ดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2020 (หรือเป็นที่รู้จักในนาม เมะอิจิ ยะสุดะ เจ1 ลีก สำหรับเหตุผลด้านผู้สนับสนุน) เป็นฤดูกาลที่ 28 ของ เจลีก ดิวิชัน 1, ลีกอาชีพสูงสูดของญี่ปุ่นนับตั้งแต่การก่อตั้งในปี ค.ศ. 1993. ลีกจะเริ่มต้นในวันที่ 21 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2020. สำหรับฤดูกาลนี้, ลีกจะมีการพักเบรกฤดูกาลเพื่อหลีกเลี่ยงการปะทะกับ โอลิมปิก 2020 เริ่มต้นตั้งแต่เดือนมิถุนายนถึงสิงหาคม.[1]

โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส คือทีมแชมป์เก่า.

สโมสรฤดูกาล 2020

[แก้]
สโมสร ที่ตั้ง สนาม จำนวนผู้ชม ฤดูกาลที่ผ่านมา
โยโกฮามะ เอฟซี คานางาวะ มิตสึซาวะสเตเดียม 15,046 เจ2 (อันดับที่ 2)
โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส นิสสัน สเตเดียม 72,327 เจ1 (ชนะเลิศ)
โชนัน เบลมาเร บีเอ็มดับบลิวสเตเดียมฮิรัตสุกะ 18,500 เจ1 (อันดับที่ 16)
คะวะซะกิ ฟรอนตาเล โทะโดะโระกิสเตเดียม 26,232 เจ1 (อันดับที่ 4)
กัมบะ โอซะกะ โอซะกะ พานาโซนิค สเตเดียม ซุอิตะ 39,694 เจ1 (อันดับที่ 7)
เซเรซโซ โอซากะ สนามกีฬายันมาร์

สนามกีฬาคันโช

18,007

47,853

เจ1 (อันดับที่ 5)
ซางัน โทซุ ซางะ เอคิมาเอะ สเตเดียม 24,130 เจ1 (อันดับที่ 15)
โออิตะ ทรินิตา โออิตะ โชวะ เดนโกะ โดม โออิตะ 40,000 เจ1 (อันดับที่ 9)
อูราวะ เรดไดมอนส์ ไซตามะ สนามกีฬาไซตะมะ 2002 63,700 เจ1 (อันดับที่ 14)
วิสเซล โคเบะ เฮียวโงะ โนเอเวอร์ สเตเดียม 30,132 เจ1 (อันดับที่ 8)
เวกัลตะ เซ็นได มิยะงิ ยูร์เทค สเตเดียม เซ็นได 19,694 เจ1 (อันดับที่ 11)
คาชิวะ เรย์โซล ชิบะ ฮิตาชิ คาชิวะ สเตเดียม 15,900 เจ2 (ชนะเลิศ)
คอนซาโดเล ซัปโปโระ ฮกไกโด ซัปโปโระ โดม

ซัปโปโระ อัตสึเบตสึ สเตเดียม

41,484

20,861

เจ1 (อันดับที่ 10)
เอฟซี โตเกียว โตเกียว สนามกีฬาอะยิโนะโมะโตะ 49,970 เจ1 (อันดับที่ 2)
ชิมิซุ เอส-พัลส์ ชิซุโอะกะ ไอเอไอ สเตเดียม 20,339 เจ1 (อันดับที่ 12)
คาชิมะ แอนต์เลอส์ อิบารากิ สนามฟุตบอลคาชิมะ 40,728 เจ1 (อันดับที่ 3)
นาโงยะ แกรมปัส ไอชิ สนามกีฬาปาโลมา มิซุโฮะ

สนามกีฬาโทโยตะ

27,001

45,000

เจ1 (อันดับที่ 13)
ซานเฟรซ ฮิโรชิมะ ฮิโรชิมะ อีดิออน สเตเดียม 36,894 เจ1 (อันดับที่ 6)

ข้อมูลสโมสรและชุดแข่งขัน

[แก้]
สโมสร ผู้จัดการทีม กัปตันทีม ผู้ผลิตชุด
ฮกไกโด คอนซาโดเล ซัปโปโระ ประเทศเซอร์เบีย Mihailo Petrović[2] ประเทศอิตาลี Kappa
เวกัลตะ เซ็นได ประเทศญี่ปุ่น Takashi Kiyama[3] ประเทศเยอรมนี อาดิดาส
คาชิมะ แอนต์เลอส์ ประเทศบราซิล Antônio Carlos Zago[4] สหรัฐอเมริกา ไนกี้
อูราวะ เรดไดมอนส์ ประเทศญี่ปุ่น Tsuyoshi Otsuki[5] สหรัฐอเมริกา ไนกี้
คาชิวะ เรย์โซล ประเทศบราซิล Nelsinho Baptista[6] ประเทศญี่ปุ่น YONEX
เอฟซี โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น Kenta Hasegawa[7] ประเทศอังกฤษ อัมโบร
โยโกฮามะ เอฟซี ประเทศญี่ปุ่น Takahiro Shimotaira[8] ประเทศญี่ปุ่น Soccer Junky
โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส ประเทศออสเตรเลีย Ange Postecoglou[9] ประเทศเยอรมนี อาดิดาส
โชนัน เบลมาเร ประเทศญี่ปุ่น Bin Ukishima[10] ประเทศบราซิล Penalty
คะวะซะกิ ฟรอนตาเล ประเทศญี่ปุ่น Toru Oniki[11] ประเทศเยอรมนี พูมา
ชิมิซุ เอส-พัลส์ ประเทศญี่ปุ่น ฮิโรอากิ ฮิราโอกะ ประเทศเยอรมนี พูมา
นาโงยะ แกรมปัส ประเทศอิตาลี Massimo Ficcadenti[12] ประเทศญี่ปุ่น มิซูโนะ
กัมบะ โอซะกะ ประเทศญี่ปุ่น Tsuneyasu Miyamoto[13] ประเทศอังกฤษ Umbro
เซเรซโซ โอซากะ ประเทศสเปน Miguel Ángel Lotina[14] ประเทศเยอรมนี พูมา
วิสเซล โคเบะ ประเทศญี่ปุ่น Atsuhiro Miura[15] ประเทศญี่ปุ่น เอสิกส์
ซานเฟรซ ฮิโรชิมะ ประเทศญี่ปุ่น Hiroshi Jofuku[16] สหรัฐอเมริกา ไนกี้
โออิตะ ทรินิตา ประเทศญี่ปุ่น Tomohiro Katanosaka[17] ประเทศเยอรมนี พูมา
ซางัน โทซุ ประเทศเกาหลีใต้ Kim Myung-hwi[18] สหรัฐอเมริกา นิวบาลานซ์

เปลี่ยนผู้จัดการทีม

[แก้]
ทีม ผู้จัดการคนก่อน เหตุที่ออก วันที่ตำแหน่งว่าง ผู้จัดการคนใหม่ วันที่ได้รับการแต่งตั้ง
วิสเซล โคเบะ ประเทศเยอรมนี Thorsten Fink เปลี่ยนผู้กำกับ 21 กันยายน ค.ศ. 2020[19] ประเทศญี่ปุ่น Atsuhiro Miura 25 กันยายน ค.ศ. 2020[20]
ชิมิซุ เอส-พัลส์ ประเทศออสเตรเลีย Peter Cklamovski ถูกไล่ออก 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 2020[21] ประเทศญี่ปุ่น Hiroaki Hiraoka 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 2020[22]

ผู้เล่นต่างชาติ

[แก้]

ณ ฤดูกาล 2020, ไม่มีข้อจำกัดอีกต่อไปถึงจำนวนผู้เล่นต่างชาติที่เซ็นสัญญา, แต่สโมสรสามารถลงทะเบียนผู้เล่นได้สูงสุดห้าคนสำหรับผู้เล่นที่มีแมตช์เดย์แมตช์เดียว.[23] ผู้เล่นที่มาจากชาติหุ้นส่วนเจ.ลีก (ไทย, เวียดนาม, เมียนมาร์, มาเลเซีย, กัมพูชา, สิงคโปร์, อินโดนีเซีย และ กาตาร์) ได้รับการยกเว้นจากข้อจำกัดเหล่านี้.

ชื่อผู้เล่นที่อยู่ใน ตัวหนา หมายถึงผู้เล่นคนนั้นได้ลงทะเบียนระหว่างตลาดซื้อขายนักเตะช่วงกลางฤดูกาล.

สโมสร ผู้เล่น 1 ผู้เล่น 2 ผู้เล่น 3 ผู้เล่น 4 ผู้เล่น 5 ผู้เล่น 6 ผู้เล่น 7 ผู้เล่น 8 ผู้เล่น 9 ผู้เล่น 10 อดีตผู้เล่น
คอนซาโดเล ซัปโปโระ ประเทศบราซิล Anderson Lopes ประเทศบราซิล Lucas Fernandes ประเทศอังกฤษ เจย์ โบธรอยด์ ประเทศเกาหลีใต้ Gu Sung-yun ประเทศเกาหลีใต้ Kim Min-tae ประเทศไทย ชนาธิป สรงกระสินธ์ ประเทศไทย กวินทร์ ธรรมสัจจานันท์
เวกัลตะ เซ็นได ประเทศบราซิล Pará ประเทศสเปน อีซัก เกวงกา ประเทศโปรตุเกส Alexandre Guedes ประเทศโมซัมบิก Simão Mate Junior ประเทศเกาหลีใต้ Kim Jung-ya ประเทศโปแลนด์ Jakub Słowik ประเทศเกาหลีใต้ Lee Yun-oh
คาชิมะ แอนต์เลอส์ ประเทศบราซิล Bueno ประเทศบราซิล Juan Alano ประเทศบราซิล Léo Silva ประเทศเกาหลีใต้ Kwoun Sun-tae ประเทศบราซิล Everaldo
อูราวะ เรดไดมอนส์ ประเทศบราซิล Leonardo ประเทศบราซิล Fabrício ประเทศบราซิล Maurício Antônio กูราเซา Quenten Martinus ประเทศออสเตรเลีย Thomas Deng
เอฟซี โตเกียว ประเทศบราซิล Arthur Silva ประเทศบราซิล Diego Oliveira ประเทศเกาหลีใต้ Na Sang-ho ประเทศบราซิล Leandro ประเทศบราซิล Adaílton ประเทศเลบานอน Joan Oumari
คะวะซะกิ ฟรอนตาเล ประเทศบราซิล Jesiel ประเทศบราซิล Leandro Damião ประเทศเกาหลีใต้ Jung Sung-ryong ประเทศบราซิล Diogo Mateus
โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส ประเทศบราซิล Edigar Junio ประเทศบราซิล Erik ประเทศบราซิล Marcos Júnior ประเทศบราซิล Thiago Martins ประเทศเกาหลีใต้ Park Iru-gyu ประเทศไทย ธีราทร บุญมาทัน
โชนัน เบลมาเร ประเทศบราซิล Lelêu ประเทศนอร์เวย์ Tarik Elyounoussi
คาชิวะ เรย์โซล ประเทศบราซิล Richardson ประเทศบราซิล Cristiano ประเทศบราซิล Matheus Sávio ประเทศเกาหลีใต้ Kim Seung-gyu ประเทศเคนยา Michael Olunga ประเทศบราซิล Júnior Santos
ชิมิซุ เอส-พัลส์ ประเทศไทย ธีรศิลป์ แดงดา ประเทศบราซิล Elsinho ประเทศบราซิล Junior Dutra ประเทศบราซิล Renato Augusto ประเทศเกาหลีเหนือ Jong Tae-se ประเทศเกาหลีใต้ Hwang Seok-ho ประเทศบราซิล Neto Volpi ประเทศบราซิล Carlinhos Junior ประเทศบราซิล Valdo ประเทศเปรู Erick Noriega
โยโกฮามะ เอฟซี ประเทศบราซิล Leandro Domingues ประเทศบราซิล Maguinho ประเทศนอร์เวย์ Ibba Laajab ประเทศเนเธอร์แลนด์ Calvin Jong-a-Pin
นาโงยะ แกรมปัส ประเทศออสเตรเลีย Mitchell Langerak ประเทศบราซิล Eduardo Neto ประเทศบราซิล Gabriel Xavier ประเทศบราซิล ประเทศบราซิล Mateus
กัมบะ โอซะกะ ประเทศบราซิล Ademilson ประเทศบราซิล Patric ประเทศเกาหลีใต้ Kim Young-gwon ประเทศเกาหลีใต้ Oh Jae-suk ประเทศฟิลิปปินส์ Jefferson Tabinas ประเทศเกาหลีใต้ Shin Won-ho
เซเรซโซ โอซะกะ ประเทศอาร์เจนตินา Leandro Desábato ประเทศออสเตรเลีย Pierce Waring ประเทศบราซิล Bruno Mendes ประเทศเกาหลีใต้ Ahn Joon-soo ประเทศโครเอเชีย Matej Jonjić ประเทศเกาหลีใต้ Kim Jin-hyeon ประเทศไทย ตะวัน โคตรสุโพธิ์ ประเทศบราซิล Lucas Mineiro
วิสเซล โคเบะ ประเทศบราซิล Dankler ประเทศเบลเยียม โตมัส เฟอร์มาเลิน ประเทศบราซิล Douglas ประเทศสเปน อันเดรส อีเนียสตา ประเทศสเปน Sergi Samper
ซานเฟรซ ฮิโระชิมะ ประเทศบราซิล Douglas Vieira ประเทศบราซิล Leandro Pereira ประเทศบราซิล Rhayner ประเทศบราซิล Ezequiel
ซางัน โทซุ ประเทศบราซิล Tiago Alves ประเทศเกาหลีใต้ An Yong-woo ประเทศเกาหลีใต้ Cho Dong-geon ประเทศเกาหลีใต้ Kim Min-ho ประเทศเกาหลีใต้ Park Jeong-su ประเทศเกาหลีเหนือ Ryang Yong-gi ประเทศบราซิล Eduardo ประเทศอุรุกวัย Renzo Lopez
โออิตะ ทรินิตา ประเทศเกาหลีใต้ Mun Kyung-gun

ตารางคะแนน

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบหรือการตกชั้น
1 คะวะซะกิ ฟรอนตาเล (C) 34 26 5 3 88 31 +57 83 ผ่านเข้าสู่ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก รอบแบ่งกลุ่ม
และ เอ็มเพอเรอร์สคัพ 2020 รอบรองชนะเลิศ
2 กัมบะ โอซะกะ 34 20 5 9 46 42 +4 65
3 นาโงยะ แกรมปัส 34 19 6 9 45 28 +17 63 ผ่านเข้าสู่ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก รอบเพลย์ออฟ
4 เซเรซโซ โอซากะ 34 18 6 10 46 37 +9 60
5 คาชิมะ แอนต์เลอส์ 34 18 5 11 55 44 +11 59
6 เอฟซี โตเกียว 34 17 6 11 47 42 +5 57
7 คาชิวะ เรย์โซล 34 15 7 12 60 46 +14 52
8 ซานเฟรซ ฮิโรชิมะ 34 13 9 12 46 37 +9 48
9 โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส 34 14 5 15 69 59 +10 47
10 อูราวะ เรดไดมอนส์ 34 13 7 14 43 56 −13 46
11 โออิตะ ทรินิตา 34 11 10 13 36 45 −9 43
12 คอนซาโดเล ซัปโปโระ 34 10 9 15 47 58 −11 39
13 ซางัน โทซุ 34 7 15 12 37 43 −6 36
14 วิสเซล โคเบะ 34 9 9 16 50 59 −9 36
15 โยโกฮามะ เอฟซี 34 9 6 19 38 60 −22 33
16 ชิมิซุ เอส-พัลส์ 34 7 7 20 48 70 −22 28
17 เวกัลตะ เซ็นได 34 6 10 18 36 61 −25 28
18 โชนัน เบลมาเร 34 6 9 19 29 48 −19 27
แหล่งข้อมูล: Meiji Yasuda J1 League
กฏการจัดอันดับ: 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตู; 3) คะแนนเฮด-ทู-เฮด; 4) ผลต่างประตูเฮด-ทู-เฮด; 5) ประตูที่ทำได้ เฮด-ทู-เฮด; 6) ตัวเลขของชนะ; 7) ประตูที่ทำได้; 8) คะแนนแฟร์เพลย์
(C) ชนะเลิศ

ผลการแข่งขัน

[แก้]
เหย้า \ เยือน ANT BEL CER CON FMA FRO GAM GRA REY RED SAG SFR SSP TOK TRI VEG VIS YFC
คาชิมะ แอนต์เลอส์ 1–0 1–1 0–2 4–2 1–1 1–1 0–2 1–4 4–0 2–0 1–0 2–0 2–2 0–2 2–1 2–2 3–2
โชนัน เบลมาเร 1–0 0–1 0–0 1–0 0–1 1–2 0–1 3–2 2–3 0–0 1–1 0–3 0–1 1–2 0–1 1–1 1–0
เซเรซโซ โอซะกะ 1–2 1–0 2–0 4–1 1–3 1–1 0–2 0–0 3–0 1–2 0–1 2–0 0–0 1–0 2–1 0–0 1–0
คอนซาโดเล ซัปโปโระ 1–0 2–1 1–3 3–1 1–6 0–1 0–0 0–1 3–4 1–1 0–2 5–1 1–1 1–1 3–3 2–3 3–0
โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส 2–3 3–2 1–2 4–1 1–3 1–2 2–1 1–1 6–2 1–1 3–1 3–0 1–3 4–0 3–1 2–3 4–0
คะวะซะกิ ฟรอนตาเล 2–1 3–1 5–2 0–2 3–1 5–0 3–0 3–1 3–1 0–0 5–1 5–0 2–1 2–0 1–0 3–2 3–2
กัมบะ โอซะกะ 2–0 0–1 1–2 2–1 1–1 0–1 2–1 2–1 1–3 1–1 1–0 0–2 1–3 2–1 0–4 1–0 2–1
นาโงยะ แกรมปัส 1–3 3–1 1–0 3–0 2–1 1–0 2–2 0–1 6–2 1–0 1–0 3–1 1–0 0–0 1–0 2–1 0–0
คาชิวะ เรย์โซล 2–3 3–2 1–3 4–2 1–3 2–3 3–0 0–1 1–1 1–2 1–1 0–0 0–1 1–1 5–1 4–3 1–3
อูราวะ เรดไดมอนส์ 1–0 0–0 3–1 0–2 0–0 0–3 1–2 0–1 0–4 2–2 1–0 1–1 0–1 2–1 6–0 1–2 0–2
ซางัน โทซุ 0–2 2–2 1–1 0–2 1–3 1–1 1–2 0–0 2–1 0–1 0–0 1–1 3–0 2–2 0–1 0–1 3–0
ซานเฟรซ ฮิโระชิมะ 3–0 1–0 1–2 2–2 3–1 0–2 1–2 2–0 0–1 1–1 3–0 4–1 3–3 1–2 1–1 2–1 1–1
ชิมิซุ เอส-พัลส์ 1–2 1–1 3–1 3–1 3–4 2–2 1–2 1–2 1–2 1–2 1–1 2–3 1–3 4–2 2–3 3–1 2–3
เอฟซี โตเกียว 1–2 3–0 2–0 1–0 0–4 0–4 0–1 1–0 1–3 2–0 2–3 1–0 3–1 2–3 1–0 1–0 2–1
โออิตะ ทรินิตา 1–4 2–2 0–1 1–1 1–0 1–0 0–1 0–3 0–0 0–0 2–0 0–2 2–1 0–1 0–2 1–1 1–0
เวกัลตะ เซ็นได 1–3 0–0 2–3 2–2 0–1 2–3 1–4 1–1 0–2 1–2 0–3 0–0 0–0 2–2 0–3 2–3 0–0
วิสเซล โคเบะ 1–3 0–2 0–1 4–0 3–3 2–2 0–2 1–0 2–3 0–1 4–3 0–3 3–1 2–2 1–1 1–2 1–1
โยโกฮามะ เอฟซี 1–0 4–2 1–2 1–2 3–1 1–5 0–2 3–2 0–3 0–2 1–1 0–2 1–3 1–0 2–3 1–1 2–1
ที่มา: 2020 J1 League
สัญลักษณ์: สีฟ้า = ทีมเหย้าชนะ; เหลือง = เสมอ; แดง = ทีมเยือนชนะ

สถิติตลอดฤดูกาล

[แก้]

อันดับดาวซัลโว

[แก้]
อันดับ ผู้เล่น สโมสร ประตู[24]
1 ประเทศบราซิล ไมเคิล โอลุงก้า คาชิวะ เรย์โซล 28
2 ประเทศบราซิล เอแวรัลดู คาชิมะ แอนต์เลอส์]] 18
3 ประเทศบราซิล เลอันโดร เปเรย์รา ซานเฟรชเช ฮิโรชิมะ 15
4 ประเทศญี่ปุ่น ยู โคบายาชิ คะวะซะกิ ฟรอนตาเล 14
5 ประเทศบราซิล เอริก โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส 13
ประเทศญี่ปุ่น คาโอรุ มิโตมะ คะวะซะกิ ฟรอนตาเล
ประเทศบราซิล ฌูนีโอร์ ซังตูซ โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส
ประเทศบราซิล ลีอังดรู ดามีเยา คะวะซะกิ ฟรอนตาเล
9 ประเทศญี่ปุ่น เคียวโกะ ฟุรุฮาชิ วิสเซล โคเบะ 12
10 ประเทศบราซิล เลอูนาร์ดู อูราวะ เรดไดมอนส์ 11
ประเทศบราซิล มาร์กอส จูเนียร์ โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส
ประเทศญี่ปุ่น อากิฮิโระ อิเอนะกะ คะวะซะกิ ฟรอนตาเล

แฮต-ทริคส์

[แก้]
นักเตะ สโมสร ทำได้ในนัดที่พบกับ ผล วันที่
ประเทศเคนยา ไมเคิล โอลุงก้า คาชิวะ เรย์โซล เวกัลตะ เซ็นได 5–1 (H) เก็บถาวร 2020-09-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน 26 กรกฎาคม 2020
ประเทศบราซิล เอแวรัลดู คาชิมะ แอนต์เลอส์ โออิตะ ทรินิตา 4–1 (A)[ลิงก์เสีย] 1 สิงหาคม 2020
ประเทศญี่ปุ่น นาโอกิ มาเอดะ4 นาโงยะ แกรมปัส อูราวะ เรดไดมอนส์ 6–2 (H)[ลิงก์เสีย] 8 สิงหาคม 2020
ประเทศญี่ปุ่น ชุน นะกะซะวะ เวกัลตะ เซ็นได กัมบะ โอซะกะ 4–0 (A)[ลิงก์เสีย] 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 2020
ประเทศบราซิล ฌูนีโอร์ ซังตูซ โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส อูราวะ เรดไดมอนส์ 6–2 (H) เก็บถาวร 2021-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 2020
ประเทศญี่ปุ่น อากิฮิโระ อิเอนะกะ คะวะซะกิ ฟรอนตาเล กัมบะ โอซะกะ 5–0 (H) เก็บถาวร 2020-12-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 2020
  • 4 ผู้เล่นที่ทำ 4 ประตู

สถิติผู้ชม

[แก้]
อันดับ ทีม รวม สูงสุด ต่ำสุด เฉลี่ย เปลี่ยนแปลง
1 คะวะซะกิ ฟรอนตาเล 77,587 21,117 0 6,466 −72.2%
2 โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส 90,196 34,521 0 6,443 −76.1%
3 นาโงยะ แกรมปัส 67,997 11,854 0 6,182 −77.6%
4 เซเรซโซ โอซะกะ 72,310 15,535 0 6,026 −72.0%
5 วิสเซล โคเบะ 69,243 25,059 0 5,476 −74.5%
6 อูราวะ เรดไดมอนส์ 66,463 9,831 0 5,113 −85.0%
7 กัมบะ โอซะกะ 47,042 9,313 0 4,863 −82.4%
8 ชิมิซุ เอส-พัลส์ 55,698 17,549 0 4,642 −69.1%
9 ซานเฟรซ ฮิโระชิมะ 50,669 18,713 0 4,606 −66.8%
10 โออิตะ ทรินิตา 54,196 8,570 0 4,516 −70.6%
11 เอฟซี โตเกียว 53,887 8,166 0 4,491 −85.8%
12 โชนัน เบลมาเร 48,734 13,071 0 4,430 −63.4%
13 คาชิมะ แอนต์เลอส์ 33,760 6,982 0 3,943 −80.8%
14 ซางัน โทซุ 40,780 8,574 0 3,722 −75.3%
15 ฮกไกโด คอนซาโดเล ซัปโปโระ 47,111 5,359 2,039 3,624 −80.7%
16 เวกัลตะ เซ็นได 36,113 13,968 0 3,611 −75.9%
17 คาชิวะ เรย์โซล 36,144 12,468 0 3,012 −68.2%
18 โยโกฮามะ เอฟซี 32,184 5,163 0 2,926 −58.6%
รวม 1,003,539 34,521 0 4,711 −77.3%

ปรับปรุงล่าสุดในนัดการแข่งขันเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม ค.ศ. 2020
แหล่งข้อมูล: J. League Data
หมายเหตุ:'
เลื่อนชั้นมาจาก เจ2

อ้างอิง

[แก้]
  1. Orlowitz, Dan. "J. League season to include Olympic break". The Japan Times. สืบค้นเมื่อ 2020-01-31.
  2. "2020年シーズン 北海道コンサドーレ札幌 契約合意スタッフのお知らせ" (Press release). 北海道コンサドーレ札幌. 2020-01-06. สืบค้นเมื่อ 2020-01-10.[ลิงก์เสีย]
  3. "木山隆之氏 監督就任のお知らせ". ベガルタ仙台. 2019-12-19. สืบค้นเมื่อ 2019-12-19.
  4. "ザーゴ氏の新監督就任について". 鹿島アントラーズ. 2020-01-02. สืบค้นเมื่อ 2020-01-03.
  5. "大槻 毅監督続投のお知らせ" (Press release). 浦和レッドダイヤモンズ. 2019-12-08. สืบค้นเมื่อ 2019-12-15.
  6. "2020シーズン トップチーム・アカデミー体制のお知らせ" (Press release). 柏レイソル. 2020-01-14. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-01-14. สืบค้นเมื่อ 2020-01-14.
  7. "長谷川健太監督 契約更新のお知らせ" (Press release). FC東京. 2019-10-24. สืบค้นเมื่อ 2019-12-15.
  8. "下平隆宏監督契約更新のお知らせ" (Press release). 横浜FC. 2019-11-26. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-12-14. สืบค้นเมื่อ 2019-12-15.
  9. "アンジェ ポステコグルー監督 契約更新のお知らせ" (Press release). 横浜F・マリノス. 2019-11-11. สืบค้นเมื่อ 2019-12-15.
  10. "浮嶋敏監督 2020シーズン続投のお知らせ" (Press release). 湘南ベルマーレ. 2019-12-14. สืบค้นเมื่อ 2019-12-15.
  11. "鬼木達監督契約更新のお知らせ" (Press release). 川崎フロンターレ. 2019-12-25. สืบค้นเมื่อ 2019-12-25.
  12. "マッシモ フィッカデンティ監督、契約更新のお知らせ" (Press release). 名古屋グランパス. 2019-12-20. สืบค้นเมื่อ 2019-12-20.
  13. "1/8(水)2020シーズンキックオフイベント開催報告" (Press release). ガンバ大阪. 2020-01-08. สืบค้นเมื่อ 2020-01-10.
  14. "契約更新について(ロティーナ監督)" (Press release). セレッソ大阪. 2019-12-08. สืบค้นเมื่อ 2019-12-08.
  15. "2020シーズン「トップチームメンバーおよび選手背番号」決定のお知らせ" (Press release). ヴィッセル神戸. 2020-01-21. สืบค้นเมื่อ 2020-01-21.
  16. "城福浩監督、2020シーズン契約更新のお知らせ" (Press release). サンフレッチェ広島. 2019-12-08. สืบค้นเมื่อ 2019-12-15.
  17. "【重要】 片野坂知宏監督 からサポーターの皆様に重要なお知らせ" (Press release). 大分トリニータ. 2019-11-19. สืบค้นเมื่อ 2019-12-15.
  18. "金明輝監督 契約更新のお知らせ" (Press release). サガン鳥栖. 2019-12-31. สืบค้นเมื่อ 2020-01-01.
  19. "トルステン フィンク監督退任のお知らせ" (Press release). ヴィッセル神戸. 2020-09-22. สืบค้นเมื่อ 2020-10-19.
  20. "三浦 淳寛新監督就任およびトップチーム新体制発表のお知らせ" (Press release). ヴィッセル神戸. 2020-09-24. สืบค้นเมื่อ 2020-10-19.
  21. "ピーター クラモフスキー監督 契約解除のお知らせ". Shimizu S-Pulse. 1 November 2020.
  22. "平岡 宏章 監督就任のお知らせ" (ภาษาญี่ปุ่น). Shimizu S-Pulse. 1 November 2020.
  23. "「ホームグロウン制度」の導入と「外国籍選手枠」の変更について". J.LEAGUE.jp. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-12. สืบค้นเมื่อ 2020-02-10.{{cite web}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)
  24. "GOALS / MEIJI YASUDA J1 LEAGUE". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-11-05. สืบค้นเมื่อ 8 July 2020.