เจ้าพ่อพระธรณี
หน้าตา
เทวรูปเทวดาแห่งแผ่นดินโลกและดินในศาสนาแบบพหุเทวนิยม ซ้าย - เทวรูปเจ้าพ่อธรณีจีน (ตรีเทพซำกัวไต่เต่) ณ ศาลเจ้าซำกวนไต่เต่ (澎湖三官殿) แขวงหม่ากง เขตเผิงหู , ประเทศไต้หวัน และ ขวา - จิตรกรรมเทพบดีเกบ ในศาสนาแบบอียิปต์โบราณ
เจ้าพ่อพระธรณี (Earth god, เทพบิดรแห่งแผ่นดินโลก) หรือ เทพบิดรแผ่นดินโลก หมายถึง เทพยดาแห่งพื้นดินและแผ่นดินโลกในศาสนาพหุเทวนิยมและเกี่ยวข้องกับเพศบุรุษและบิดรในแผ่นดินโลกและมีความเกี่ยวข้องกับโลกใต้พิภพหรือโลกบาดาล[1]
เทพบุรุษแห่งแผ่นดินโลกในศาสนาต่าง ๆ ได้แก่:
- ศาสนาอียิปต์โบราณ - เจ้าพ่อเกบ
- ศาสนาชาวบ้านจีนและลัทธิเต๋า - เจ้าพ่อธรณีจีน (ตรีเทพซำกัวไต่เต่) และ ฮกเต็กแป๊ะกง และ ดาโต๊ะกงในกลุ่มมาเลเซียเชื้อสายจีน เปอรานากัน ชาวอินโดนีเซียเชื้อสายจีน สิงคโปร์เชื้อสายจีน
- ศาสนากรีกโบราณ - เทพบดีโพไซดอน
- ศาสนาโรมันโบราณ - เทพเนปจูน (Neptune)
- ศาสนาพราหมณ์ - พระธราเทพ (Dharā - धरा ) หนึ่งในคณะเทพวสุ (Vasus - वसु)
- ศาสนาพุทธแบบมหายานและวัชรยาน - พระกษิติครรภโพธิสัตว์
- ศาสนาพื้นบ้านไทย - พระภูมิไชยมงคล
ดูเพิ่ม
[แก้]- แม่พระธรณี
- เจ้าแม่ปฤถวี
- พระวสุธารา
- เจ้าแม่ธรณีจีน
- เจ้าแม่ภูมิเทพี
- เทพีแห่งแผ่นดินโลก
- รายพระนามเทพแห่งแผ่นดิน
- เทวรูปจีน
- ศาลเจ้าจีน
- วัดจีน
อ้างอิง
[แก้]แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ เจ้าพ่อพระธรณี