เครื่องราชอิสริยาภรณ์บาธ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์ยิ่งบาธ
ประเภทเครื่องอิสริยาภรณ์อัศวิน
วันสถาปนา18 พฤษภาคม ค.ศ. 1725
ประเทศ อังกฤษ
ผู้สมควรได้รับผู้ที่รับใช้ในพระองค์ และ ตามพระราชอัธยาศัย
สถานะยังพระราชทานอยู่
ผู้สถาปนาพระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่
ประธานสมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร
ลำดับเกียรติ
สูงกว่าเครื่องราชอิสริยาภรณ์นักบุญแพทริก
รองมาเครื่องราชอิสริยาภรณ์ดาวแห่งอินเดีย
หมายเหตุ
แพรแถบ

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์ยิ่งบาธ (อังกฤษ: Most Honourable Order of the Bath)[1] เป็นเครื่องอิสริยาภรณ์ชั้นอัศวิน ที่สถาปนาโดยพระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่ เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1725[2] ชื่อนี้มาจากพิธีแต่งตั้งอัศวินในยุคกลางซึ่งเกี่ยวข้องกับการอาบน้ำ (เป็นสัญลักษณ์ของการทำให้บริสุทธิ์) ซึ่งเป็นหนึ่งในองค์ประกอบของเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ อัศวินที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้รู้จักกันในชื่อ "อัศวินแห่งบาธ"[3] พระเจ้าจอร์จที่ 1 ทรงสถาปนาอัศวินแห่งบาธให้เป็นเหมือนเครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับทหารโดยทั่วไป[4] เขาไม่ได้ (ตามที่เชื่อกันทั่วไป) ในการฟื้นฟูเครื่องราชอิสริยาภรณ์บาธ[5] เนื่องจากในสมัยนั้นยังไม่เรียกสิ่งนี้ว่า "เครื่องราชอิสริยาภรณ์" หากอัศวินที่ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ว่างลง จะแต่งตั้งบุคคลอื่นขึ้นมาดำรงตำแหน่งแทน[6][7]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ประกอบขึ้นตรงต่อกษัตริย์ (ปัจจุบันคือสมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่3 ) [8] และแบ่งออกเป็น 3 ชั้น[9] ดังนี้:

  • Knight Grand Cross (GCB) or Dame Grand Cross (GCB)
  • Knight Commander (KCB) or Dame Commander (DCB)
  • Companion (CB)

สมาชิกเป็นได้ทั้งฝ่ายพลเรือนและฝ่ายทหาร[10] ก่อนปี 1815 มีเพียงชั้นเดียว คือ Knight Companion (KB) ซึ่งไม่มีอยู่แล้ว[11] ผู้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้มักเป็นนายทหารระดับสูงหรือข้าราชการชั้นผู้ใหญ่[12][13] พลเมืองในเครือจักรภพที่ไม่ได้ขึ้นตรงต่อพระราชินีและชาวต่างชาติก็สามารถเป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์ของครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ได้[14]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์บาธ เป็นลำดับอาวุโสที่สุดอันดับ 4 ของคำสั่งแห่งเครื่องอิสริยาภรณ์ชั้นอัศวินของอังกฤษรองจาก เครื่องราชอิสริยาภรณ์การ์เตอร์, เครื่องราชอิสริยาภรณ์ทริสเติล และ เครื่องราชอิสริยาภรณ์นักบุญแพทริก[15]

องค์ประกอบ[แก้]

กษัตริย์[แก้]

พระมหากษัตริย์แห่งอังกฤษคือประมุขของเครื่องราชอิสริยาภรณ์บาธ และพระมหากษัตริย์จะทำการแต่งตั้งทั้งหมดตามคำแนะนำของรัฐบาล หรือรัฐบาลเสนอ

เกรทมาสเตอร์[แก้]

เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี เกรทมาสเตอร์ปี 1843-1861

สมาชิกที่อาวุโสที่สุดของเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้คือ เกรทมาสเตอร์ ซึ่งมีเก้าคน:

สมาชิก[แก้]

กฎเกณฑ์เป็นดังต่อไปนี้:

  • 120 Knights or Dames Grand Cross (GCB) (สำหรับเกรทมาสเตอร์)
  • 355 Knights Commander (KCB) or Dames Commander (DCB)
  • 1,925 Companions (CB)

การเป็นสมาชิกปกติจำกัดเฉพาะพลเมืองของสหราชอาณาจักรและประเทศในเครือจักรภพ ที่มีพระราชินีเป็นผู้ปกครอง ผู้ได้รับการแต่งตั้งมักเป็นเจ้าหน้าที่ของกองทัพหรือข้าราชการชั้นผู้ใหญ่

สายสะพาย และ ดวงดารา ของชั้น Grand Cross (GC)

โดยตำแหน่งขั้นต่ำของแต่ละบุคคล GCB ต้องดำรงตำแหน่งพลเอก หรือพลเรือเอก หรือพลอากาศเอกขึ้นไป ขั้นต่ำของ KCB ต้องดำรงตำแหน่งพลโท หรือพลเรือโท หรือพลอากาศโทขึ้นไป ขั้นต่ำของ CB มักจะมียศเป็นพลตรี หรือพลเรือตรี หรือพลอากาศตรีขึ้นไป และนอกจากนี้จะต้องได้รับการกล่าวถึงในเดสแพตช์ สำหรับความแตกต่างในตำแหน่งผู้บังคับบัญชาในการรบ สถานการณ์แม้ว่าอย่างหลังจะไม่ใช่ข้อกำหนดอีกต่อไป เจ้าหน้าที่นอกสายงาน (เช่นวิศวกรแพทย์) อาจได้รับการแต่งตั้งเพื่อรับใช้ประโยชน์ในช่วงสงครามนั้น

เจ้าหน้าที่[แก้]

รายชื่อผู้ที่ได้รับในปัจจุบัน[แก้]

Knights and Dames Grand Cross[แก้]

ยศทหาร (ถ้ามี) ชื่อ ชั้นตรา ปีที่ได้รับ
จอมพลอากาศ The Lord Craig of Radley GCB OBE 1984
จอมพลอากาศ Sir Peter Harding GCB 1988
จอมพล Sir John Chapple GCB CBE 1988
Sir Clive Whitmore GCB CVO 1988
Sir Peter Middleton GCB 1989
พลอากาศเอก Sir Patrick Hine GCB GBE 1989
Sir William Heseltine GCB GCVO AC QSO PC 1990
จอมพลเรือ Sir Benjamin Bathurst GCB DL 1991
จอมพล The Lord Inge KG GCB PC DL 1992
Sir Terence Heiser GCB 1992
พลเรือเอก Sir Jock Slater GCB LVO DL 1992
The Lord Butler of Brockwell KG GCB CVO PC 1992
พลอากาศเอก Sir Michael Graydon GCB CBE 1993
พลเอก The Lord Ramsbotham GCB CBE 1993
จอมพล The Lord Guthrie of Craigiebank GCB GCVO OBE DL 1994
พลเอก Sir John Waters GCB CBE 1994
พลอากาศเอก Sir Michael Alcock GCB KBE 1995
The Lord Burns GCB 1995
พลอากาศเอก Sir Richard Johns GCB KCVO CBE 1997
พลเอก Sir Roger Wheeler GCB CBE 1997
Sir Anthony Battishill GCB 1997
The Lord Fellowes GCB GCVO QSO PC 1998
Rt Hon. Sir John Chilcot GCB PC 1998
จอมพลเรือ The Lord Boyce KG GCB OBE 1999
จอมพล The Lord Walker of Aldringham GCB CMG CBE DL 1999
พลเอก Sir Jeremy Mackenzie GCB OBE DL 1999
Sir Nigel Wicks GCB CVO CBE 1999
The Lord Wilson of Dinton GCB 2001
พลเรือเอก Sir Nigel Essenhigh GCB DL 2002
Sir Hayden Phillips GCB 2002
Sir David Omand GCB 2004
พลเรือเอก The Lord West of Spithead GCB DSC PC 2004
พลเอก Sir Michael Jackson GCB CBE 2004
จอมพลอากาศ The Lord Stirrup KG GCB AFC 2005
Sir Richard Mottram GCB 2006
The Lord Janvrin GCB GCVO QSO PC 2007
พลเอก The Lord Dannatt GCB CBE MC DL 2008
พลอากาศเอก Sir Glenn Torpy GCB CBE DSO 2008
พลเรือเอก Sir Jonathon Band GCB DL 2008
พลเรือเอก Sir Mark Stanhope GCB OBE 2010
พลเอก The Lord Houghton of Richmond GCB CBE ADC Gen 2011
Sir David Normington GCB 2011
พลเอก The Lord Richards of Herstmonceux GCB CBE DSO 2011
The Lord O'Donnell GCB 2011
พลอากาศเอก Sir Stephen Dalton GCB 2012
พลเอก Sir Peter Wall GCB CBE ADC 2013
The Lord Macpherson of Earl's Court GCB 2015
พลเรือเอก Sir George Zambellas GCB DSC ADC DL 2016
พลอากาศเอก Sir Andrew Pulford GCB CBE ADC DL 2016
The Lord Geidt GCB GCVO OBE QSO PC 2018
พลเอก Sir Nicholas Carter GCB CBE DSO ADC Gen 2019
Dame Sally Davies GCB DBE FRS FMedSci 2019
พลเรือเอก Sir Philip Jones GCB ADC DL 2019
พลอากาศเอก Sir Stephen Hillier GCB CBE DFC ADC 2020

Honorary Knights and Dames Grand Cross[แก้]

ตำแหน่ง ชื่อ ชั้นตรา ปีที่ได้รับ ตำแหน่งเมื่อตอนได้รับ
Head of state เม็กซิโก Luis Echeverría GCB 1973 50th President of Mexico
Head of state โปรตุเกส António Ramalho Eanes GCB 1978 16th President of Portugal
Head of state ไนจีเรีย Ibrahim Babangida GCB 1989 8th President of Nigeria
Head of state ไอซ์แลนด์ Vigdís Finnbogadóttir GCB GCMG 1990 4th President of Iceland
Head of state โปแลนด์ Lech Wałęsa GCB 1991 2nd President of Poland
Head of state บรูไน Sultan Hassanal Bolkiah GCB GCMG 1992 Sultan of Brunei
Head of state ฟินแลนด์ Martti Ahtisaari GCB 1995 10th President of Finland
Head of state โปแลนด์ Aleksander Kwaśniewski GCB GCMG 1996 3rd President of Poland
Head of state บราซิล Fernando Henrique Cardoso GCB 1997 34th President of Brazil
Head of state จอร์แดน Abdullah II of Jordan GCB GCMG KCVO 2001 King of Jordan
Head of state แอฟริกาใต้ Thabo Mbeki GCB 2001 2nd President of South Africa
Head of state ไนจีเรีย Olusegun Obasanjo GCB 2004 12th President of Nigeria
Head of state เยอรมนี Horst Köhler GCB 2004 9th President of Germany
Head of state มอลตา Eddie Fenech Adami GCB 2005 7th President of Malta
Head of state ลิทัวเนีย Valdas Adamkus GCB 2006 9th President of Lithuania
Head of state เอสโตเนีย Toomas Hendrik Ilves GCB 2006 4th President of Estonia
Head of state บราซิล Luiz Inácio Lula da Silva GCB 2006 35th President of Brazil
Head of state ลัตเวีย Vaira Vīķe-Freiberga GCB 2006 6th President of Latvia
Head of state กานา John Kufuor GCB 2007 2nd President of Ghana
Head of state ตุรกี Abdullah Gül GCB 2008 11th President of Turkey
Head of state ฝรั่งเศส Nicolas Sarkozy GCB 2008 23rd President of France
Head of state สโลวีเนีย Danilo Türk GCB 2008 4th President of Slovenia
Head of state เม็กซิโก Felipe Calderón GCB 2009 56th President of Mexico
Head of state แอฟริกาใต้ Jacob Zuma GCB 2010 4th President of South Africa
Head of state ประเทศกาตาร์ Hamad bin Khalifa Al Thani GCB GCMG 2010 Emir of Qatar
Head of state สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Khalifa bin Zayed Al Nahyan GCB 2010 2nd President of the United Arab Emirates
Head of state อินโดนีเซีย Susilo Bambang Yudhoyono GCB AC 2012 6th President of Indonesia
Head of state เกาหลีใต้ Park Geun-hye GCB 2013 18th President of South Korea
Head of state ฝรั่งเศส François Hollande GCB 2014 24th President of France
Head of state สิงคโปร์ Tony Tan GCB 2014 7th President of Singapore
Head of state เม็กซิโก Enrique Peña Nieto GCB 2015 57th President of Mexico
Head of state เยอรมนี Joachim Gauck GCB 2015 11th President of Germany
Head of state โคลอมเบีย Juan Manuel Santos GCB 2016 32nd President of Colombia

อ้างอิง[แก้]

  1. The word "Military" was removed from the name by Queen Victoria in 1847. Letters Patent dated 14 April 1847, quoted in Statutes 1847.
  2. Statutes 1725, although Risk says 11 May
  3. Anstis, Observations, p. 4.
  4. Letters patent dated 18 May 1725, quoted in Statutes 1725.
  5. The purely legendary pre-history was associated with Henry IV.
  6. Wagner, Heralds of England, p 357, referring to John Anstis, who proposed the Order, says: "He had the happy inspiration of reviving this ancient name and chivalric associations, but attaching it, as it never had been before, to an Order or company of knights."
  7. Perkins, The Most Honourable Order of the Bath, p. 1: "It can scarcely be claimed that a properly constituted Order existed at any time during the preceding centuries [prior to the reign of Charles II]".
  8. "No. 46428". The London Gazette. 10 December 1974. p. 12559.
  9. Statutes 1925, article 2.
  10. Statutes 1925, article 5.
  11. "No. 16972". The London Gazette. 4 January 1815. pp. 17–20.
  12. "Order of the Bath". Official website of the British monarchy. Archived from the original on 2 January 2012. Retrieved 9 December 2011
  13. Statutes 1925, articles 8–12.
  14. Statutes 1925, article 8.
  15. See, for example, the order of wear for orders and decorations Archived 28 January 2007 at the Wayback Machine , the Royal Warrant defining precedence in Scotland () or the discussion of precedence at http://www.heraldica.org/topics/britain/order_precedence.htm