เกาะเรอดัง
ชื่อท้องถิ่น: Pulau Redang ڤولاو رداڠ | |
---|---|
![]() ภาพจากดาวเทียม | |
ภูมิศาสตร์ | |
ที่ตั้ง | ทะเลจีนใต้ |
พิกัด | 5°46′30″N 103°0′54″E / 5.77500°N 103.01500°E |
กลุ่มเกาะ | กลุ่มเกาะเรอดัง |
พื้นที่ | 24.2 ตารางกิโลเมตร (9.3 ตารางไมล์) |
ระดับสูงสุด | 359 ม. (1178 ฟุต) |
จุดสูงสุด | บูกิตเบอซาร์ |
การปกครอง | |
รัฐ | ![]() |
อำเภอ | อำเภอกัวลาเนอรุซ |
มูกิม | หมู่เกาะเรอดัง |
ประชากรศาสตร์ | |
ประชากร | 1,657 (2020) |
ภาษา | ภาษามลายูมาเลเซีย, ภาษามลายูตรังกานู |
กลุ่มชาติพันธุ์ | มลายู |
ข้อมูลอื่น ๆ | |
เขตเวลา | |
รหัสไปรษณีย์ | 21090 |
เกาะเรอดัง (มลายู: Pulau Redang, มลายูตรังกานู : Pula Redang) เป็นเกาะในอำเภอกัวลาเนอรุซ รัฐตรังกานู ประเทศมาเลเซีย เป็นหนึ่งในเกาะที่ใหญ่ที่สุดนอกชายฝั่งตะวันออกของคาบสมุทรมาเลเซีย มีชื่อเสียงในเรื่องน้ำทะเลใสและชายหาดทรายสีขาว เป็นหนึ่งในเก้าเกาะของอุทยานเขตรักษาพันธุ์สัตว์น้ำที่มีชื่อเดียวกับเกาะ นักท่องเที่ยวมักมาทำกิจกรรมดำน้ำตื้นและดำน้ำลึก
ภูมิศาสตร์
[แก้]ในทางภูมิศาสตร์ เกาะเรอดังมีพื้นที่ประมาณ 24 km2 (9.3 sq mi) และมีความยาวประมาณ 7 km (4.3 mi) และกว้าง 6 km (3.7 mi) จุดสูงสุดอยู่ที่บูกิตเบอซาร์อยู่ในความสูงเหนือระดับน้ำทะเล 359 เมตร (1,178 ฟุต)
ส่วนวัตถุประสงค์ในการบริหารจัดการที่ดิน เกาะจำนวน 18 เกาะรวมทั้งเกาะเรอดังประกอบขึ้นเป็นมูกิมหมู่เกาะเรอดังในอำเภอกัวลาเนอรุซ ในจำนวนนี้ 7 เกาะได้รับการคุ้มครองและประกาศให้เป็นอุทยานทางทะเลโดยกรมประมง และได้รับการกำหนดให้เป็นเขตทะเลห่างจากชายฝั่งเมื่อน้ำลงต่ำสุดที่ 2 ไมล์ทะเล (3.7 กิโลเมตร)[1][2][3] เกาะนี้เคยอยู่ในอำเภอกัวลาเตอเริงกานูก่อนแยกออกไปอยู่ในอำเภอกัวลาเนอรุซใน ค.ศ. 2014
เกาะ | พื้นที่ (ตารางกิโลเมตร) |
---|---|
เรอดัง[a] | 24.200 |
บีดง | 2.440 |
ลังเตองะฮ์[a] | 1.304 |
ปีนัง[a] | 0.756 |
เกอลุก | 0.145 |
ยูเบอซาร์[a] | 0.127 |
กาปัก | 0.117 |
ลีมา[a] | 0.093 |
เออโกร์เตอบู[a] | 0.056 |
ยูเกอจิล[a] | 0.055 |
ปากูเบอซาร์ | 0.052 |
เกอเริงกาเบอซาร์ | 0.037 |
เติงโกรัก | 0.017 |
บาตูบารา | 0.013 |
ปากูเกอจิล | 0.012 |
เกอเริงกาเอจิล | 0.007 |
ลิง | 0.006 |
จีปู | 0.004 |
รวม | 29.441 |
หมายเหตุ: ^[a] เกาะที่ได้รับการกำหนดให้เป็นอุทยานทางทะเล
ภูมิอากาศ
[แก้]ข้อมูลภูมิอากาศของเกาะเรอดัง | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เดือน | ม.ค. | ก.พ. | มี.ค. | เม.ย. | พ.ค. | มิ.ย. | ก.ค. | ส.ค. | ก.ย. | ต.ค. | พ.ย. | ธ.ค. | ทั้งปี |
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) | 32.9 (91.2) |
34.5 (94.1) |
34.8 (94.6) |
35.5 (95.9) |
35.8 (96.4) |
35.5 (95.9) |
34.9 (94.8) |
35.5 (95.9) |
35.2 (95.4) |
34.0 (93.2) |
33.7 (92.7) |
32.3 (90.1) |
35.8 (96.4) |
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) | 29.7 (85.5) |
30.5 (86.9) |
31.5 (88.7) |
32.7 (90.9) |
33.1 (91.6) |
32.7 (90.9) |
32.3 (90.1) |
32.2 (90) |
31.9 (89.4) |
31.5 (88.7) |
30.0 (86) |
29.3 (84.7) |
31.45 (88.61) |
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) | 26.3 (79.3) |
26.6 (79.9) |
27.2 (81) |
27.9 (82.2) |
28.0 (82.4) |
27.5 (81.5) |
27.3 (81.1) |
27.0 (80.6) |
26.9 (80.4) |
26.7 (80.1) |
26.3 (79.3) |
26.2 (79.2) |
26.99 (80.59) |
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) | 23.7 (74.7) |
23.3 (73.9) |
23.7 (74.7) |
24.1 (75.4) |
24.3 (75.7) |
24.0 (75.2) |
23.7 (74.7) |
23.6 (74.5) |
23.6 (74.5) |
23.7 (74.7) |
23.7 (74.7) |
23.8 (74.8) |
23.77 (74.78) |
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) | 19.7 (67.5) |
19.4 (66.9) |
19.8 (67.6) |
22.5 (72.5) |
21.3 (70.3) |
21.2 (70.2) |
20.9 (69.6) |
21.0 (69.8) |
21.2 (70.2) |
21.2 (70.2) |
21.3 (70.3) |
20.8 (69.4) |
19.4 (66.9) |
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) | 124.6 (4.906) |
73.5 (2.894) |
162.5 (6.398) |
87.0 (3.425) |
104.0 (4.094) |
116.5 (4.587) |
105.1 (4.138) |
137.5 (5.413) |
188.2 (7.409) |
224.3 (8.831) |
732.0 (28.819) |
534.8 (21.055) |
2,590 (101.969) |
ความชื้นร้อยละ | 81 | 81 | 82 | 82 | 83 | 83 | 83 | 84 | 84 | 85 | 87 | 84 | 83.3 |
วันที่มีหยาดน้ำฟ้าโดยเฉลี่ย | 16 | 8 | 10 | 9 | 10 | 11 | 10 | 13 | 15 | 19 | 23 | 22 | 166 |
แหล่งที่มา: Malaysian Meteorological Department[4] |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Terengganu Marine Park Information" (PDF). redangpelangi.com.
- ↑ "Taman Laut". marinepark.dof.gov.my.
- ↑ "Marine Parks". marinepark.dof.gov.my.
- ↑ "Climate of Tourist Places in Malaysia – Pulau Redang (Redang Island)". Met Office. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 Aug 2008. สืบค้นเมื่อ 10 May 2019.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Redang Island
- SEATRU - A sea turtle project in Redang, Malaysia
- Tourism Malaysia - Pulau Redang
- Scary story
- Elizabeth Pesiu; Gaik Ee Lee; Muhammad Razali Salam; Jamilah Mohd Salim; Kah Hoo Lau; Jean Wan Hong Yong; Mohd Tajuddin Abdullah (2022). "Species Composition, Diversity, and Biomass Estimation in Coastal and Marine Protected Areas of Terengganu, Peninsular Malaysia". Agronomy. 12 (10). doi:10.3390/agronomy12102380.