ฮิปสเตอร์ (วัฒนธรรมย่อยร่วมสมัย)

วัฒนธรรมย่อยฮิปสเตอร์ตรงแบบประกอบด้วยรุ่นวัยวาย (generation Y) ผิวขาวซึ่งอาศัยอยู่ในพื้นที่เมือง[1][2] วัฒนธรรมย่อยนี้ถูกพรรณนาว่าเป็น "หม้อรวมสมัยนิยม รสนิยมและพฤติกรรมข้ามแอตแลนติกกลายพันธุ์" (mutating, trans-Atlantic melting pot of styles, tastes and behavior)[3] และสัมพันธ์กว้าง ๆ กับดนตรีอินดีและอัลเทอร์เนทีฟ แฟชั่นนอกกระแสหลักหลายอย่าง (เช่น เสื้อผ้าวินเทจ) มุมมองทางการเมืองนั้นสงบและเป็นสีเขียว วีแกนอาหารอินทรีย์และพื้นบ้านและวิถีชีวิตทางเลือก[4][5][6][7] ตรงแบบฮิปสเตอร์ถูกพรรณนาว่าเป็น โบฮีเมียน (Bohemian) หนุ่มสาวมั่งมีหรือชนชั้นกลางผู้อาศัยอยู่ในย่านซึ่งปรับให้เข้ากับชนชั้นกลาง (gentrification)[8][9]
คำนี้ที่ใช้อย่างในปัจจุบันปรากฏครั้งแรกในคริสต์ทศวรรษ 1990 และกลายมาโดดเด่นเป็นพิเศษในคริสต์ทศวรรษ 2010[10] โดยได้ชื่อมาจากคำที่ใช้อธิบายขบวนการก่อนหน้านี้ในคริสต์ทศวรรษ 1940[11] สมาชิกวัฒนธรรมย่อยดังกล่าวไม่ระบุว่าตัวเป็นฮิปสเตอร์ และคำว่า "ฮิปสเตอร์" มักใช้เป็นคำหยาบพรรณนาผู้โอ้อวด[12] ล้ำสมัยเกินหรือขาดความเข้มแข็ง ความกล้าหรือสปิริต (effete)[8][13] นักวิเคราะห์บางส่วนแย้งว่า ความคิดฮิปสเตอร์ร่วมสมัยแท้จริงเป็นเรื่องปรัมปราที่การตลาดสร้างขึ้น[14]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Greif, Mark (2010-10-24). "What Was the Hipster?". New York Mag. สืบค้นเมื่อ 2014-01-24.
- ↑ Lorentzen, Christian (May 30 – June 5, 2007). "Kill the hipster: Why the hipster must die: A modest proposal to save New York cool". Time Out New York. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-07-25. สืบค้นเมื่อ 2015-01-20.
- ↑ Haddow, Douglas (2008-07-29). "Hipster: The Dead End of Western Civilization". Adbusters. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-09-08. สืบค้นเมื่อ 2008-09-08.
- ↑ "2017 Trend Prediction: The Year of Eliminating Excess". Alexis. Sustainability X. สืบค้นเมื่อ 28 January 2019.[ลิงก์เสีย]
- ↑ "Poll: Many Americans dislike hipsters, are open to hipster annoyance levy". Washington Times. 2013-05-13. สืบค้นเมื่อ 2013-05-18.
- ↑ Kellogg, Carolyn (2010-10-12). "What do hipsters and pornography have in common?". Los Angeles Times. สืบค้นเมื่อ 2013-05-18.
- ↑ Wallace, Benjamin (2012-04-15). "The Twee Party: Is artisanal Brooklyn a step forward for food or a sign of the apocalypse? And does it matter when the stuff tastes so good?". New York Mag. สืบค้นเมื่อ 2014-01-24.
- ↑ 8.0 8.1 Weeks, Linton. "The Hipsterfication Of America". NPR.org. สืบค้นเมื่อ 25 January 2014.
- ↑ Hughes, Evan. "The Great Inversion in New Brooklyn". utne.com. สืบค้นเมื่อ 25 January 2014.
- ↑ Delaney, Brigid (November 6, 2010). "Hipsters in firing line in 2010s culture war". Sydney Morning Herald.
- ↑ Dan Fletcher (2009-07-29). "Hipsters". time.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-08-26. สืบค้นเมื่อ 2009-11-01.
- ↑ Thorne, Tony, 2014, Dictionary of Contemporary Slang, sv. "Hipster", p. 217.
- ↑ Dover, Sarah (February 29, 2012). "Sen. Orrin Hatch on Keystone Pipeline: Obama Traded in 'Hard Hat' for 'Hipster Fedora'". International Business Times. สืบค้นเมื่อ 25 January 2014.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อArsel and Thompson