ฮาโลเทน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฮาโลเทน
ข้อมูลทางคลินิก
AHFS/Drugs.comข้อมูลยาของ FDA สำหรับผู้เชี่ยวชาญ
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์
  • C
ช่องทางการรับยาการสูดดม[1]
รหัส ATC
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์
การเปลี่ยนแปลงยาตับ (CYP2E1[2])
การขับออกไต, ระบบหายใจ
ตัวบ่งชี้
  • 2-Bromo-2-chloro-1,1,1-trifluoroethane
เลขทะเบียน CAS
PubChem CID
IUPHAR/BPS
DrugBank
ChemSpider
UNII
KEGG
ChEBI
ChEMBL
ECHA InfoCard100.005.270
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี
สูตรC2HBrClF3
มวลต่อโมล197.381 g/mol g·mol−1
แบบจำลอง 3D (JSmol)
  • C(C(F)(F)F)(Cl)Br
  • InChI=1S/C2HBrClF3/c3-1(4)2(5,6)7/h1H checkY
  • Key:BCQZXOMGPXTTIC-UHFFFAOYSA-N checkY
  (verify)
สารานุกรมเภสัชกรรม

ฮาโลเทน (Halothane) หรือชื่อทางการค้าคือ ฟลูโอเทน (Fluothane) เป็นยาสลบประเภททั่วไป รับโดยการสูดดม[1]ใช้เพื่อทำให้เกิดภาวะไร้ความรู้สึก ยาสงบชนิดนี้มีข้อดีกว่าชนิดอื่นตรงที่ไม่เพิ่มปริมาณน้ำลายซึ่งเป็นอุปสรรคในผู้ป่วยที่ใส่ท่อช่วยหายใจ

อาการข้างเคียงของการใช้ฮาโลเทน ได้แก่ อัตราชีพจรผิดปกติ, หายใจลำบาก และโรคตับ ยาชนิดนี้สามารถใช้กับผู้ป่วยที่มีอาการตัวร้อนหรือมีประวัติตัวร้อนสูงขั้นรุนแรงได้[1] ยังไม่เป็นที่สรุปว่ายาประเภทนี้ปลอดภัยต่อสตรีมีครรภ์หรือไม่ อย่างไรก็ตาม ยาชนิดนี้ไม่ถูกแนะนำให้ใช้ในการผ่าท้องทำคลอด[3]

ฮาโลเทนถูกค้นพบในปี พ.ศ. 2498[4] และเป็นหนึ่งในยาหลักขององค์การอนามัยโลก ใช้กันมากในการรักษาทั่วไป[5] ยาชนิดนี้นิยมใช้กันมากในประเทศกำลังพัฒนา มีราคาขายส่งอยู่ที่ 22 ถึง 52 ดอลลาร์สหรัฐต่อขวด 250 มม.[6] แต่ในประเทศพัฒนาแล้วส่วนใหญ่ ยาชนิดนี้ถูกแทนที่ด้วยยาชนิดใหม่กว่าอย่างซีโวฟลูเรน[7]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 WHO Model Formulary 2008 (PDF). World Health Organization. 2009. pp. 17–18. ISBN 9789241547659. สืบค้นเมื่อ 8 December 2016.
  2. DrugBank: DB01159 (Halothane)
  3. "Halothane - FDA prescribing information, side effects and uses". www.drugs.com. June 2005. สืบค้นเมื่อ 13 December 2016.
  4. Walker, S. R. (2012). Trends and Changes in Drug Research and Development (ภาษาอังกฤษ). Springer Science & Business Media. p. 109. ISBN 9789400926592.
  5. "WHO Model List of EssentialMedicines" (PDF). World Health Organization. October 2013. สืบค้นเมื่อ 22 April 2014.
  6. "Halothane". International Drug Price Indicator Guide. สืบค้นเมื่อ 13 August 2015.[ลิงก์เสีย]
  7. Yentis, Steven M.; Hirsch, Nicholas P.; Ip, James (2013). Anaesthesia and Intensive Care A-Z: An Encyclopedia of Principles and Practice (ภาษาอังกฤษ) (5 ed.). Elsevier Health Sciences. p. 264. ISBN 9780702053757.