ฮั่นฝู
ฮั่นฝู | |||||||||||||||||||
![]() ชายชาวจีนสองคนสวมเชินยี หนึ่งในสไตล์ฮั่นฝูที่เป็นที่นิยมมากที่สุด | |||||||||||||||||||
![]() คำว่า"ฮั่นฝู"ในอักษรจีนตัวย่อ (บน) และตัวเต็ม (ล่าง) | |||||||||||||||||||
อักษรจีนตัวย่อ | 汉服 | ||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
อักษรจีนตัวเต็ม | 漢服 | ||||||||||||||||||
ความหมายตามตัวอักษร | "เครื่องแต่งกายของชาวฮั่น" | ||||||||||||||||||
|
ฮั่นฝู เป็นคำที่เรียกเครื่องแต่งกายของชาวฮั่นในประเทศจีน เครื่องแต่งกายแบบฮั่นฝูแบ่งได้หลายแบบ เช่นหรูฉุน (เสื้อผ้าท่อนบนที่มีกระโปรงส่วนนอกยาว), เอ่าฉุน (เสื้อผ้าท่อนบนที่มีกระโปรงชั้นในยาวเอวสูง), เป้ย์จึ (มักเป็นเสื้อคลุมหลวมทับนอกยาวถึงเข่ามีแขนกว้างและกระดุมกลางเม็ดเดียว), เชินอี (เสื้อคลุมยาวกรอมข้อเท้าที่มีสายคาดเอวผูกปล่อยชายยาวกับแขนกว้าง)[1] และชานคู่ (เสื้อคลุมยาวและกางเกง)[2]
ตามธรรมเนียม ฮั่นฝูประกอบด้วยเสื้อคลุม หรือแจ็กเก็ตที่เป็นส่วนบนกับกระโปรงส่วนล่าง นอกจากนี้ ฮั่นฝูยังมีเครื่องประดับหลายอย่าง อย่างผ้าโพกศีรษะ รองเท้า เข็มขัด เครื่องเพชร เช่นจี้หยกกับพัดมือ[1] ปัจจุบัน ฮั่นฝูได้รับการยอมรับเป็นเครื่องแต่งกายพื้นเมืองของกลุ่มชาติพันธุ์ฮั่น และได้รับการฟื้นฟูในหมู่คนหนุ่มสาวชาวฮั่นในจีนและจีนโพ้นทะเล[1][3][4][5]
หลังจากราชวงศ์ฮั่น ฮั่นฝูถูกพัฒนาเป็นหลากหลายรูปแบบโดยใช้ผ้าที่รวมเทคนิคการผลิตสิ่งทอที่ซับซ้อนจำนวนมาก โดยเฉพาะของที่ใช้ในการผลิตไหม[6] ฮั่นฝูส่งอิทธิพลต่อเครื่องแต่งกายพื้นบ้านในหลายวัฒนธรรม เช่นฮันบกของเกาหลี,[7][8][9][10] กิโมโนของญี่ปุ่น,[11][12] รีวโซ ของโอกินาวะ[13][14] และáo giao lĩnhของเวียดนาม[15][16]
ดูเพิ่ม[แก้]
- กี่เพ้า
- เครื่องแต่งกายจีน
- วัฒนธรรมจีน
- เฟิ่งกวาน
- ฉีสฺยงหรูฉุน
- หยวนหลิ่งชาน
- กวานหลี่
- จัตุรัสแมนดาริน
- วาฟูกุ—สิ่งที่เทียบเท่าของญี่ปุ่น
- ขบวนการฮั่นฝู
- รองเท้าฮั่นฝู
- เครื่องประดับฮั่นฝู
อ้างอิง[แก้]
- ↑ 1.0 1.1 1.2 Wang, Xinyi; Colbert, François; Legoux, Renaud (2020). "From Niche Interest to Fashion Trend: Hanfu Clothing as a Rising Industry in China". International Journal of Arts Management. 23 (1). สืบค้นเมื่อ 1 February 2021.
- ↑ Steele, Valerie (1999). China chic : East meets West. John S. Major. New Haven: Yale University Press. p. 24. ISBN 0-300-07930-3. OCLC 40135301.
- ↑ China Daily (4 September 2019). "Hanfu market grows across China". China Daily. สืบค้นเมื่อ 31 January 2021.
- ↑ Zhang, Tianwei (25 November 2020). "Putting China's Traditional Hanfu on the World Stage". Women's Wear Daily [WWD]. สืบค้นเมื่อ 1 February 2021.
- ↑ Wright, Julia (17 August 2019). "Traditional Chinese clothing inspires a budding fashion in Saint John". CBC News. สืบค้นเมื่อ 1 February 2021.
- ↑ Yang, Shaorong (2004). Traditional Chinese Clothing: Costumes, Adornments & Culture. Long River Press. p. 3. ISBN 1592650198.
- ↑ แม่แบบ:Multiref2
- ↑ แม่แบบ:Multiref2
- ↑ Tae-ok, Lee (2003). Study on Danryung structure. Proceedings of the Korea Society of Costume Conference. p. 49.
- ↑ "Dress - Korea". Encyclopedia Britannica. สืบค้นเมื่อ 2021-03-03.
- ↑ Stevens, Rebecca (1996). The kimono inspiration: art and art-to-wear in America. Pomegranate. pp. 131–142. ISBN 978-0-87654-598-0.
- ↑ Dalby, Liza (2001). Kimono: Fashioning Culture. Washington, USA: University of Washington Press. pp. 25–32. ISBN 978-0-295-98155-0.
- ↑ "Traditional Costume that Represents Okinawa's Culture and National Features, the "Ryusou". | Features | Okinawa Travel Info". okinawatravelinfo.com. สืบค้นเมื่อ 2021-03-22.
- ↑ Nordquist, Barbara K. (1978-01-01). "The Ryūkyū Islands: Some Notes on Dress". Dress. 4 (1): 66–75. doi:10.1179/036121178805298829. ISSN 0361-2112.
- ↑ 《大南實錄・正編・第一紀・世祖實錄》,越南阮朝,國史館
- ↑ 《大南实录・正编・第一纪・卷五十四・嘉隆十五年七月条》,越南阮朝,國史館
บรรณานุกรม[แก้]
- Hua, Mei (華梅) (2004). 【古代服飾】 [Ancient Costume]. Beijing: Wenmu Chubanshe. ISBN 978-7-5010-1472-9.
- Huang, Nengfu (黃能馥); Chen, Juanjuan (陳娟娟) (1999). 【中華歷代服飾藝術】 [The Art of Chinese Clothing Through the Ages]. Beijing.
- Shen, Congwen (2006). Zhongguo gu dai fu shi yan jiu 【中國古代服飾研究】 [Researches on Ancient Chinese Costumes]. Shanghai: Shanghai Century Publishing Group. ISBN 978-7-80678-329-0.
- Xu, Jialu (許嘉璐) (1991). 【中國古代禮俗辭典】 [Dictionary of Rituals and Customs of Ancient China].
- Zhou, Xun; Gao, Chunming; The Chinese Costumes Research Group (1984), 5000 Years of Chinese Costume, Hong Kong: The Commercial Press. ISBN 962-07-5021-7
- Zhou, Xun; Gao, Chunming (1988). 5000 years of Chinese costumes. San Francisco: China Books & Periodicals. ISBN 978-0-8351-1822-4.
- Zhou, Xibao (1984). 【中國古代服飾史】 [History of Ancient Chinese Costume]. Beijing: Zhongguo Xiju.
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ฮั่นฝู