ฮอนด้า เอชเอ-420

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฮอนด้า เอชเอ-420
บทบาทเครื่องบินส่วนตัว/เครื่องบินธุรกิจ
ชาติกำเนิดญี่ปุ่น
สหรัฐอเมริกา
บริษัทผู้ผลิตบริษัทอากาศยานฮอนด้า[1]
บินครั้งแรก3 ตุลาคม 2003
สถานะใช้งานอยู่
ช่วงการผลิต2012 - ปัจจุบัน
จำนวนที่ผลิต57 (พฤษภาคม 2560)
มูลค่า4.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (พฤษภาคม 2558)[2]

ฮอนด้า HA-420 หรือเป็นที่รู้จักในนาม ฮอนด้าเจ็ต (อังกฤษ: HondaJet) คือเครื่องบินลำแรกที่พัฒนาและผลิตโดยบริษัทอากาศยานฮอนด้า (Honda Aircraft Company) เพื่อจำหน่ายให้แก่ตลาดอุตสาหกรรมการบินทั่วไป .

การพัฒนา[แก้]

ฮอนด้าเริ่มวิจัยและพัฒนาเครื่องบินธุรกิจเมื่อปี ค.ศ. 1980, โดยใช้เครื่องยนต์จากผู้ผลิตรายอื่น. โดยสร้างตัวต้นแบบ Honda MH02, เพื่อทดลองและพัฒนาใน ห้องทดลองและวิจัยการบิน ของมหาวิทยาลัย แรสเพท รัฐมิสซิปซิปปี้ เมื่อปี 1980 - 1990 [3]

ฮอนด้าเจ็ทเริ่มต้นทดสอบการบินเมื่อ เดือนตุลาคม 2003 และเผยโฉมต่อสาธารณชนในงาน EAA AirVenture air show ที่จัดขึ้นที่ Oshkosh, Wisconsin, ในเดือนกรกฎาคม ปี 2005. และในวันที่ 25 กรกฎาคม 2006, ฮอนด้าได้กลับมาที่ Oshkosh เพื่อแจ้งให้สาธารณชนทราบว่าฮอนด้าจะเปิดการจำหน่ายฮอนด้าเจ็ท อย่างเป็นอย่างการ โดยจะสามารถการสั่งซื้อจากลูกค้าได้ในช่วงฤดูใบไม้ผลิปี 2006 และคาดว่าจะเริ่มส่งมอบให้ลูกค้าได้ภายในปี 2011 โดยคาดว่าราคาโดยประมาณอยู่ที่ $3.65 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยบริษัทฮอนด้าคาดการณ์ว่าจะสามารถผลิตเครื่องบินได้ 70 ลำต่อปี

ในเดือนสิงหาคม ปี 2006 ฮอนด้า และ Piper Aircraft ประกาศจับมือเป็นพันธมิตรเพื่อทำตลาดฮอนด้าเจ็ท.[4]

การออกแบบ[แก้]

ฮอนด้าออกแบบและพัฒนาโดยออกแบบให้เครื่องยนต์ติดตั้งบนปีกของเครื่องบิน เพื่อเพิ่มพื้นที่ใช้ประโยชน์มากขึ้นและลดแรงเสียดทานเมื่อใช้ความเร็วสูง และใช้วัสดุที่มีน้ำหนักเบา composite material ขณะที่ปีกของเครื่องบินผลิตด้วยวัสดุแบบชิ้นเดียว aluminum การผลิตด้วยวัสดุชิ้นเดียวจะให้ให้พื้นผิวเรียบกว่าปีกแบบทั่วไป ฮอนด้าเคลมว่าใช้วัสดุที่มีนำหนักเบากว่าเครื่องบินอื่น หลักในการออกแบบแอโรไดนามิคช่วยทำให้เครื่องบินประหยัดเชื่อเพลิงขึ้น 30-35% จากเครื่องบินขนาดเล็กทั่วไป

ฮอนด้าเริ่มพัฒนาเครื่องยนต์เทอร์โบแฟน ขนาดเล็ก รุ่น HF118 ในปี 1999 และพัฒนาต่อยอดมาจนเป็น HF120 โดยพัฒนาร่วมกับบริษัท GE Aviation ภายใต้ชื่อบริษัทหุ้นส่วน GE Honda , and was test-flown on a Cessna Citation and on a modified Boeing 727-100. The engine features a single fan, a two-stage compressor and a two-stage turbine. Further design testing on wing shape and design were done on a T-33 Shooting Star, modified by AVTEL Services, Inc, and flight tested at the Mojave Airport.

The aircraft is equipped with a Garmin G1000 glass cockpit system (i.e. most of the cockpit readouts are presented on flat-panel displays).

การผลิต[แก้]

The aircraft will be made at Piedmont Triad International Airport, Greensboro, North Carolina, USA. The plant for making the aircraft will be built by the end of 2011.[5]

Honda expects to sell 70 planes per year.[6]

Specifications (HA-420 HondaJet)[แก้]

แม่แบบ:Aero specs missing

ข้อมูลจาก {Honda Aircraft Company}

ลักษณะทั่วไป

ศักยภาพ

เทคโนโลยีการบิน
Garmin G3000 glass cockpit

See also[แก้]

แม่แบบ:Aircontent

อ้างอิง[แก้]

  1. [1][ลิงก์เสีย]
  2. "Business Jets Specification and Performance Data" (PDF). Business & Commercial Aviation. Aviation Week. May 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-09-09. สืบค้นเมื่อ 2017-07-04.
  3. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-05-27. สืบค้นเมื่อ 2009-12-24.
  4. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-10-17. สืบค้นเมื่อ 2009-12-24.
  5. [2]
  6. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ cnn-honda
  7. 7.0 7.1 http://hondajet.honda.com/specifications/index.aspx?bhcp=1

External links[แก้]

แม่แบบ:Honda แม่แบบ:Aviation lists