ข้ามไปเนื้อหา

อาโมส

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อาโมส
Russian icon of the prophet Amos
รูปของผู้เผยพระวจนะอาโมสในรัสเซียเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 18 (Iconostasis ของ Transfiguration Church, Kizhi monastery, คาเรเลีย, ประเทศรัสเซีย)
ผู้เผยพระวจนะ
เกิดเทโคอา
เสียชีวิต745 ปีก่อนคริสตกาล
นับถือ ในศาสนายูดาห์
ศาสนาคริสต์
ศาสนาอิสลาม
วันฉลอง15 มิถุนายน (ออร์ทอดอกซ์)
ผลงานหลักหนังสืออาโมส

อาโมส (อังกฤษ: Amos,/ˈməs/; ฮีบรู: עָמוֹס – ʿĀmōs) เป็นหนึ่งในสิบสองผู้เผยพระวจนะน้อยในคัมภีร์ฮีบรูและพันธสัญญาเดิมของศาสนาคริสต์ คัมภีร์ไบเบิลระบุว่าอาโมสเป็นคนร่วมสมัยกับโฮเชยาและอิสยาห์ และกระทำพันธกิจในช่วงประมาณ 760–755 ปีก่อนคริสตกาลในรัชสมัยของเยโรโบอัมที่ 2 แห่งราชอาณาจักรอิสราเอล (สะมาเรีย) และอุสซียาห์แห่งราชอาณาจักรยูดาห์ อาโมสอาศัยในราชอาณาจักรยูดาห์ทางใต้ แต่เทศนาในราชอาณาจักรอิสราเอลทางเหนือ ความโดดเด่นของอาโมสคือการพูดต่อต้านความเหลื่อมล้ำระหว่างคนรวยและคนจนที่เพิ่มมาขึ้น โดยมีประเด็นในเรื่องความยุติธรรม พระอำนาจโดยสมบูรณ์ของพระเจ้า และการพิพากษาของพระเจ้า หนังสืออาโมสถือกันว่าเป็นงานเขียนของอาโมส ในยุคปัจจุบัน นักวิชาการสงสัยมากขึ้นถึงการนำเสนอชีวประวัติและภูมิหลังของอาโมสในหนังสืออาโมส[1]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Couey, J. Blake. The Oxford Handbook of the Minor Prophets. p. 424–436. 2021. “In more recent scholarship, one finds greater skepticism about historical reconstructions of Amos’s prophetic career. The superscription and Amaziah narrative are increasingly viewed as late, which raises questions about their historical validity (Coggins 2000, 72, 142–143; Eidevall 2017, 3–7). The vision reports may also belong to later stages of the book’s development (Becker 2001; Eidevall 2017, 191–193). Doubts about the existence of a united monarchy under King David undermine arguments that Amos advocated for a reunified Davidic kingdom (Davies2009, 60; Radine2010, 4). These questions reflect larger scholarly trends, in which prophetic books are increasingly viewed as products of elite scribes. Even if they reflect historical prophetic activity, one cannot uncritically equate the prophet with the author. There may in fact have been no “writing prophets,” in which case Amos loses one source of his/its traditional prestige as the first of this group. Further complicating the matter, the portrait of prophets like Amos as proclaimers of judgment contrasts starkly with surviving records of prophetic activity from other ancient Near Eastern cultures, in which prophets consistently support the state (Kratz 2003).”

บรรณานุกรม

[แก้]
  •  บทความนี้นำข้อความมาจากสิ่งพิมพ์ที่ปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติSinger, Isidore; และคณะ, บ.ก. (1901–1906). "Amos". The Jewish Encyclopedia. New York: Funk & Wagnalls.

อ่านเพิ่มเติม

[แก้]
  • Anderson, Bernhard W. & Foster R. McCurley The Eighth Century Prophets: Amos, Hosea, Isaiah, Micah Wipf and Stock: 2003. ISBN 1-59244-354-0
  • Anderson, Francis I. & David Noel Freedman, Amos, The Anchor Yale Bible, vol. 24A; New Haven: Yale University Press, 2008. ISBN 978-0-300-14070-5
  • Rosenbaum, Stanley Ned Amos of Israel: A New Interpretation Georgia: Mercer University Press: 1990. ISBN 0-86554-355-0
Regarding the marzēaḥ festival:

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]