ข้ามไปเนื้อหา

อัลแฟรด ฟินปอกาซอน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อัลแฟรด ฟินปอกาซอน
อัลแฟรด ฟินปอกาซอน กำลังลงเล่นให้กับ ไอซ์แลนด์ในช่วงฟุตบอลโลก 2018
ข้อมูลส่วนตัว
วันเกิด (1989-02-01) 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1989 (35 ปี)
สถานที่เกิด Grindavík, ประเทศไอซ์แลนด์
ส่วนสูง 1.85 m (6 ft 1 in)
ตำแหน่ง กองหน้า
ข้อมูลสโมสร
สโมสรปัจจุบัน
เอาก์สบวร์ค
หมายเลข 27
สโมสรเยาวชน
1995–1999 Grindavík
1999–2001 Hutchison Vale
2002–2005 Fjölnir
2005–2007 Breiðablik
สโมสรอาชีพ*
ปี ทีม ลงเล่น (ประตู)
2007–2010 ไบรดาบลิก 43 (28)
2007Augnablik (ยืมตัว) 2 (2)
2011–2012 Lokeren 22 (4)
2012Helsingborg (ยืมตัว) 17 (12)
2012–2014 Heerenveen 65 (53)
2014–2016 เรอัลโซเซียดัด 23 (2)
2015–2016โอลิมเปียกอส (ยืมตัว) 7 (1)
2016เอาก์สบวร์ค (ยืมตัว) 14 (7)
2016– เอาก์สบวร์ค 91 (28)
ทีมชาติ
2009–2011 ไอซ์แลนด์ – รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี 11 (5)
2010– ไอซ์แลนด์ 54 (15)
*นัดที่ลงเล่นและประตูที่ยิงให้แก่สโมสรเฉพาะลีกในประเทศเท่านั้น
ข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 24 พฤษภาคม 2021
‡ ข้อมูลการลงเล่นและประตูให้แก่ทีมชาติล่าสุด
ณ วันที่ 25 มีนาคม ค.ศ. 2019

อัลแฟรด ฟินปอกาซอน (ไอซ์แลนด์: Alfreð Finnbogason; เกิดวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1989) เป็นนักฟุตบอลชาวไอซ์แลนด์ ปัจจุบันลงเล่นตำแหน่งกองหน้าให้กับสโมสรฟุตบอลเอาก์สบวร์คและทีมชาติไอซ์แลนด์

อัลแฟรด เป็นผู้ทำประตูสูงสุดในลีกเอเรอดีวีซีของประเทศเนเธอร์แลนด์ ในฤดูกาล 2013–14[1] ยิงได้ 29 ประตู มากที่สุดเป็นอันดับที่ 4 ของลีกยุโรป รองจาก ลุยส์ ซัวเรซ, คริสเตียโน โรนัลโด และ Jonathan Soriano[2]

อัลแฟรดลงเล่นให้กับทีมชาตินัดแรก พบกับหมู่เกาะแฟโร ในปี ค.ศ. 2010 เขาลงเล่นไปทั้งหมด 45 นัด ยิงได้ 11 ประตู

ทีมชาติ

[แก้]

อัลแฟรดลงเล่น 11 นัด และยิง 5 ประตูให้กับทีมชาติรุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี ประตูแรกของเขาเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 2009 ในรอบคัดเลือกของฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี นัดที่ชนะไอร์แลนด์เหนือ 6–2 ที่สนามเดอะโชว์กราวด์ เมืองคอเลเรน ประเทศไอร์แลนด์เหนือ[3]

อัลแฟรดลงเล่นให้กับทีมชาติชุดใหญ่นัดแรกในปี ค.ศ. 2010 ซึ่งลงเล่นในฐานะตัวสำรอง นัดกระชับมิตรพบกับหมู่เกาะแฟโร[4][5] ต่อมาเขายิงประตูแรกในฐานะตัวจริง นัดที่แพ้อิสราเอล 3–2 ที่สนามกีฬาบลูมฟิลด์ในเทลอาวีฟ[4][6] สถิติวันที่ 9 ตุลาคม ค.ศ. 2016 เขาลงเล่นให้ทีมชาติชุดใหญ่ 40 นัด ยิงได้ 11 ประตู[4]

เขามีชื่อติดทีมชาติแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016[7]

ประตูในนามทีมชาติ

[แก้]
ข้อมูลล่าสุดเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม ค.ศ. 2016 โดยสกอร์ของทีมชาติไอซ์แลนด์จะอยู่ฝั่งซ้ายของเครื่องหมายขีด[4]
ประตูในนามทีมชาติของ อัลแฟรด ฟินปอกาซอน
ลำดับ วันที่ สนาม ลงเล่นนัดที่ พบกับ สกอร์ ผล การแข่งขัน
1 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 2010 สนามกีฬาบลูมฟิลด์, เทลอาวีฟ, อิสราเอล 2 ธงชาติอิสราเอล อิสราเอล 1–3 2–3 กระชับมิตร
2 29 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2012 สนามกีฬานครพอดกอรีตซา, พอดกอรีตซา, มอนเตเนโกร 7 ธงชาติมอนเตเนโกร มอนเตเนโกร 1–1 1–2
3 7 กันยายน ค.ศ. 2012 Laugardalsvöllur, เรคยาวิก, ไอซ์แลนด์ 9 ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์ 2–0 2–0 ฟุตบอลโลก 2014 รอบคัดเลือก
4 7 มิถุนายน ค.ศ. 2013 15 ธงชาติสโลวีเนีย สโลวีเนีย 2–1 2–4
5 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 2014 King Baudouin Stadium, บรัสเซลส์, เบลเยียม 23 ธงชาติเบลเยียม เบลเยียม 1–1 1–3 กระชับมิตร
6 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 2015 สนามกีฬาแห่งชาติ, วอร์ซอ, โปแลนด์ 29 ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์ 2–2 2–4
7 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 2015 Štadión pod Dubňom, Žilina, สโลวาเกีย 30 ธงชาติสโลวาเกีย สโลวาเกีย 1–0 1–3
8 6 มิถุนายน ค.ศ. 2016 Laugardalsvöllur, เรคยาวิก, ไอซ์แลนด์ 34 ธงชาติลีชเทินชไตน์ ลีชเทินชไตน์ 3–0 4–0
9 5 กันยายน ค.ศ. 2016 สนามโอลิมปิสกี เนชันแนล สปอร์ตส์ คอมเพล็กซ์, เคียฟ, ยูเครน 38 ธงชาติยูเครน ยูเครน 1–0 1–1 ฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก
10 6 ตุลาคม ค.ศ. 2016 Laugardalsvöllur, เรคยาวิก, ไอซ์แลนด์ 39 ธงชาติฟินแลนด์ ฟินแลนด์ 2–2 3–2
11 9 ตุลาคม ค.ศ. 2016 40 ธงชาติตุรกี ตุรกี 2–0 2–0

สถิติ

[แก้]
ณ วันที่ 9 ตุลาคม ค.ศ. 2017[4]
ทีมชาติ ปี ค.ศ. ลงเล่น (นัด) จำนวนประตู
ไอซ์แลนด์
2010 2 1
2011 4 0
2012 6 2
2013 8 1
2014 3 1
2015 7 2
2016 10 4
2017 5 0
ทั้งหมด 45 11

เกียรติประวัติ

[แก้]

สโมสร

[แก้]
Breiðablik
โอลิมเปียกอส

บุคคล

[แก้]
  • ผู้เล่นยอดเยี่ยมแห่งปีของไอซ์แลนดิกพรีเมียร์ลีก: 2010[10]
  • ผู้เล่นเยาวชนยอดเยี่ยมแห่งปีของไอซ์แลนดิกพรีเมียร์ลีก: 2009[11]
  • รางวัลรองเท้าเงินของไอซ์แลนดิกพรีเมียร์ลีก: 2010[10]
  • รางวัลรองเท้าทองแดงของไอซ์แลนดิกพรีเมียร์ลีก: 2009[11]
  • ทีมยอดเยี่ยมแห่งปีของไอซ์แลนดิกพรีเมียร์ลีก: 2009, 2010[10][11]
  • ผู้ทำประตูสูงสุดของเอเรอดีวีซี: 2013–14

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Statistieken Aanval" (ภาษาดัตช์). Eredivisie.de. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-25. สืบค้นเมื่อ 26 May 2014.
  2. "Ronaldo and Suárez share Golden Shoe accolade". Uefa.com. สืบค้นเมื่อ 26 May 2014.
  3. "Northern Ireland 2 – 6 Iceland". UEFA. 8 กันยายน ค.ศ. 2009. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-01-17. สืบค้นเมื่อ 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 2009. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 "Alfreð Finnbogason" (ภาษาไอซ์แลนด์). ksi.is. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 2014. สืบค้นเมื่อ 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 2014. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |archivedate= (help)
  5. "Leikskýrsla – A karla – VL 2010 – Ísland – Færeyjar 2–0" (ภาษาไอซ์แลนด์). ksi.is. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 ตุลาคม ค.ศ. 2013. สืบค้นเมื่อ 21 August 2013. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |archivedate= (help)
  6. "Leikskýrsla – A karla – VL 2010 – Ísrael – Ísland 3–2" (ภาษาไอซ์แลนด์). ksi.is. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 ตุลาคม ค.ศ. 2013. สืบค้นเมื่อ 21 August 2013. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |archivedate= (help)
  7. "A karla – Lokahópur fyrir EM 2016" (ภาษาไอซ์แลนด์). Knattspyrnusamband Íslands. 9 May 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 May 2016. สืบค้นเมื่อ 10 May 2016.
  8. "Lokeren kaupir Alfreð Finnbogason" (ภาษาไอซ์แลนด์). mbl.is. สืบค้นเมื่อ 21 August 2013.
  9. "Breiðablik bikarmeistari karla í fyrsta sinn" (ภาษาไอซ์แลนด์). visir.is. สืบค้นเมื่อ 21 August 2013.
  10. 10.0 10.1 10.2 "Dóra María og Alfreð kosin best" (ภาษาไอซ์แลนด์). ksi.is. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 December 2013. สืบค้นเมื่อ 21 August 2013.
  11. 11.0 11.1 11.2 "Katrín og Atli valin bestu leikmennirnir" (ภาษาไอซ์แลนด์). ksi.is. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-03. สืบค้นเมื่อ 21 August 2013.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]