ข้ามไปเนื้อหา

อัลอะเกาะบะฮ์

พิกัด: 29°31′55″N 35°00′20″E / 29.53194°N 35.00556°E / 29.53194; 35.00556
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อัลอะเกาะบะฮ์
นคร
ตามเข็มนาฬิกาจากบนซ้าย: ทิวนครอัลอะเกาะบะฮ์, ป้อมอัลอะเกาะบะฮ์, ถยย Al-Hammamat Al-Tunisyya ในย่านกลางเมือง, สถานตากอากาศแห่งหนึ่ง, นครเก่า Ayla, ท่าอัลอะเกาะบะฮ์, เสาธงอัลอะเกาะบะฮ์
ตามเข็มนาฬิกาจากบนซ้าย: ทิวนครอัลอะเกาะบะฮ์, ป้อมอัลอะเกาะบะฮ์, ถยย Al-Hammamat Al-Tunisyya ในย่านกลางเมือง, สถานตากอากาศแห่งหนึ่ง, นครเก่า Ayla, ท่าอัลอะเกาะบะฮ์, เสาธงอัลอะเกาะบะฮ์
สมญา: 
เจ้าสาวทะเลแดง
ที่ตั้งของอัลอะเกาะบะฮ์
อัลอะเกาะบะฮ์ตั้งอยู่ในจอร์แดน
อัลอะเกาะบะฮ์
อัลอะเกาะบะฮ์
พิกัด: 29°31′55″N 35°00′20″E / 29.53194°N 35.00556°E / 29.53194; 35.00556
ประเทศ จอร์แดน
เขตผู้ว่าราชการอัลอะเกาะบะฮ์
ตั้งนคร4000 ปีก่อน ค.ศ.
จัดตั้งรัฐบาล2001
พื้นที่
 • ทั้งหมด375 ตร.กม. (145 ตร.ไมล์)
ความสูง6 เมตร (20 ฟุต)
ประชากร
 (2015)
 • ทั้งหมด148,398[1] คน
 • ความหนาแน่น502 คน/ตร.กม. (1,300 คน/ตร.ไมล์)
เขตเวลา+2 เวลายุโรปตะวันออก
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)+3 เวลากลางอาหรับ
รหัสไปรษณีย์77110
รหัสพื้นที่+(962)3

อัลอะเกาะบะฮ์ (อาหรับ: العقبة, อักษรโรมัน: al-ʿAqaba, al-ʿAgaba, ออกเสียง: [æl ˈʕæqaba, alˈʕagaba]) เป็นเมืองชายฝั่งแห่งเดียวของประเทศจอร์แดน และเป็นเมืองใหญ่สุดที่ตั้งอยู่บนอ่าวอัลอะเกาะบะฮ์[2] เมืองตั้งอยู่ทางใต้ของประเทศ และเป็นศูนย์กลางการปกครองของเขตผู้ว่าราชการอัลอะเกาะบะฮ์[3] เมืองมีประชากร 148,398 คน (ปี 2015) และมีพื้นที่รวม 375 ตารางกิโลเมตร (144.8 ตารางไมล์)[4] ปัจจุบัน อัลอะเกาะบะฮ์เป็นเมืองที่มีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจจอร์แดนทั้งจากการค้าขายและการท่องเที่ยว ท่าเรืออัลอะเกาะบะฮ์ยังถือเป็นท่าเรือสำคัญของทั้งจอร์แดนและประเทศอื่นในภูมิภาค[5]

ที่ตั้งของอัลอะเกาะบะฮ์มีความสำคัญทางยุทธศาสตร์มาก เนื่องจากตั้งอยู่บนปลายตะวันออกเฉียงเหนือของทะเลแดงระหว่างทวีปเอเชียกับแอฟริกา รวมถึงทำให้อัลอะเกาะบะฮ์มีความสำคัญมายาวนานตั้งแต่ในประวัติศาสตร์[5]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "The General Census – 2015" (PDF). Department of Population Statistics. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 20 September 2018. สืบค้นเมื่อ 21 January 2018.
  2. "العقبة.. مدينة الشمس والبـــحر والسلام". Ad Dustour (ภาษาอาหรับ). Ad Dustour. 1 April 2016. สืบค้นเมื่อ 22 April 2016. [ลิงก์เสีย]
  3. "Fact Sheet". Aqaba Special Economic Zone Authority. Aqaba Special Economic Zone Authority. 2013. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 September 2017. สืบค้นเมื่อ 27 September 2015.
  4. Ghazal, Mohammad (22 January 2016). "Population stands at around 10.24 million, including 2.9 million guests". The Jordan Times. The Jordan News. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 February 2018. สืบค้นเมื่อ 22 January 2016.
  5. 5.0 5.1 "Port expansion strengthens Jordanian city of Aqaba's position as modern shipping hub". The Worldfolio. Worldfolio Ltd. 27 February 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 May 2019. สืบค้นเมื่อ 27 September 2015.