จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อะไมโลเพกทิน
|
|
เลขทะเบียน
|
เลขทะเบียน CAS
|
[9037-22-3][CAS]
|
PubChem
|
439207
|
EC number
|
232-911-6
|
InChI
|
- 1/C30H52O26/c31-1-6-11(35)13(37)19(43)28(50-6)55-24-9(4-34)52-27(21(45)16(24)40)48-5-10-25(56-29-20(44)14(38)12(36)7(2-32)51-29)17(41)22(46)30(53-10)54-23-8(3-33)49-26(47)18(42)15(23)39/h6-47H,1-5H2/t6-,7-,8-,9-,10-,11-,12-,13+,14+,15-,16-,17-,18-,19-,20-,21-,22-,23-,24-,25-,26+,27+,28-,29-,30-/m1/s1
|
ChemSpider ID
|
388347
|
คุณสมบัติ
|
สูตรเคมี
|
variable
|
มวลต่อหนึ่งโมล
|
variable
|
ลักษณะทางกายภาพ
|
white powder
|
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
สถานีย่อย:เคมี
|
อะไมโลเพกทิน (amylopectin) คือ พอลิแซ็กคาไรด์ (polysaccharide) ประเภทฮอโมพอลิแซ็กคาไรด์ (homopolysaccharide) ซึ่งเป็นส่วน
ประกอบของเม็ดสตาร์ซ (starchgranule) เป็นพอลิเมอร์ของน้ำตาลกลูโคส (glucose) ที่จัดเรียงตัวเป็นสายตรงและสายแขนง โดยพันธะไกลโคไซด์
(glycosidic bond) สองแบบ คือส่วนที่เป็นพันธะสายตรง เป็นพันธะ ชนิดแอลฟา-1-4 เหมือนกับอะไมโลส (amylose) และส่วนที่เป็นสายแขนงจะเชื่อมต่อด้วย
พันธะแอลฟา-1- 6
Amylose |
Amylopectin
|
Glucose มาต่อกันเป็นสายตรง |
Glucose มาต่อกันเป็นสายตรงและสายแขนง
|
glycosidic bond แบบalpha [1,4] อย่างเดียว |
glycosidic bond แบบ alpha [1,4] และ alpha [1,6]
|
ทำปฏิกิริยากับไอโอดีนให้สีน้ำเงิน |
ทำปฏิกิริยากับไอโอดีนให้สีม่วงแดง
|
เมื่อต้มสุกมีลักษณะขาวขุ่น เป็นเจล ที่แข็งแรง เกิดรีโทเกรเดชัน (retrogradation) ได้ง่าย |
เมื่อต้มสุกมีลักษณะใส เหนียว
|
แป้งที่มี amylose สูงได้แก่ ข้าวเจ้า ข้าวโพด |
แป้งที่มี amylopectin สูง ได้แก่ ข้าวเหนียวข้าวโพด
|