อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สี่
หน้าตา
Geneva Convention relative to the Protection of Civilian Persons in Time of War (อนุสัญญาเจนีวาเกี่ยวกับการคุ้มครองบุคคลพลเรือนในเวลาสงคราม) | |
---|---|
![]() ผู้ลี้ภัยและทหารในการปิดล้อมวอร์ซอ (1939) | |
ที่ลงนาม | เจนีวา สวิตเซอร์แลนด์ |
ภาคี | 196 ประเทศ |
ภาษา | อังกฤษ ฝรั่งเศส |
ข้อความทั้งหมด | |
![]() |
อนุสัญญาเจนีวาเกี่ยวกับการคุ้มครองบุคคลพลเรือนในยามสงคราม หรือเรียกทั่วไปว่า อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่สี่ (อังกฤษ: Fourth Geneva Convention; ย่อ: GCIV) เป็นอนุสัญญาเจนีวาฉบับหนึ่งจากสี่ฉบับ มีการประกาศใช้ในเดือนสิงหาคม 1949 และมีผลใช้บังคับในเดือนตุลาคม 1950[1] อนุสัญญาเจนีวาสามฉบับแรกมีเนื้อหาเกี่ยวกับพลรบ ส่วนฉบับที่สี่นี้เป็นฉบับแรกที่ว่าด้วยการคุ้มครองพลเรือนทางมนุษยธรรมในพื้นที่สงคราม ปัจจุบันมีภาคี 196 ประเทศ[2]
ในปี 1993 คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติยอมรับรายงานจากเลขาธิการสหประชาชาติและคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญซึ่งสรุปว่าอนุสัญญาเจนีวาได้ผ่านเข้าเป็นประชุมกฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศแล้ว ซึ่งทำให้มีผลผูกพันกับผู้ที่มิได้เป็นภาคีอนุสัญญาฯ ไม่ว่าจะทำสงครามกันหรือไม่[3]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Convention (IV) relative to the Protection of Civilian Persons in Time of War. Geneva, 12 August 1949". International Committee of the Red Cross.
- ↑ "Geneva Convention (IV) on Civilians, 1949". Treaties, States parties, and Commentaries. 23 March 2010. สืบค้นเมื่อ 28 March 2018.
- ↑ "United Nations Audiovisual Library of International Law". United Nations. สืบค้นเมื่อ 15 March 2017.