องค์การมลายูรวมแห่งชาติ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
องค์การมลายูรวมแห่งชาติ
ชื่ออักษรรูมีPertubuhan Kebangsaan Melayu Bersatu
ชื่ออักษรยาวีڤرتوبوهن کبڠساءن ملايو برساتو
ชื่อย่ออัมโน
ผู้ก่อตั้งอนน์ จักฟาร์
ประธานบัดรุดดิน อามีรุลดิน
เลขาธิการอันนัวร์ มูซา
รองประธาน 1โมฮามัด ฮาซัน
รองประธาน 2 (หัวหน้าหญิง)โนร์ไอนี อะฮ์มัด
รองประธานอิซมาอิล ซับรี ยักกบ
มะฮ์ซีร์ คาลิด
โมฮาเม็ด คาเล็ด โนร์ดิน
เหรัญญิกเต็งกู อัดนัน เต็งกู มันโซร์
หัวหน้าเยาวชนอัชรัฟ วัจดี ดูซูกี
หัวหน้าเยาวชนหญิงซาฮีดา ซาริก คัน
ผู้จัดการทั่วไปบัดรุดดิน อามีรุลดิน
คำขวัญUnited, Loyal, In Service
Bersatu, Bersetia, Berkhidmat
ก่อตั้ง11 พฤษภาคม ค.ศ. 1946
รับรองตามกฎหมาย11 พฤษภาคม ค.ศ.1946
13 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1988 (อุมโนบารู)
ก่อนหน้าองค์การมลายูรวม
ที่ทำการติงกัต 38, เมอนาราดาโตะก์อนน์, ปูตราเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์, จาลันตุนอิซมาอิล, 50480 กัวลาลัมเปอร์, มาเลเซีย
หนังสือพิมพ์นิวสเตรตส์ไทมส์
เบอรีตาฮาเรียน
ฮาเรียนเมโตร
กซโม!
ฝ่ายเยาวชนPergerakan Pemuda UMNO Malaysia
ฝ่ายผู้หญิงWanita UMNO Malaysia
วานีตาอัมโนมาเลเซียPergerakan Puteri UMNO Malaysia
จำนวนสมาชิก  (ปี สิ้นปี ค.ศ.2019)3.2 ล้าน
อุดมการณ์เกอตัวนันเมอลายู[1][2]
ชาตินิยมมลายู
อนุรักษนิยมทางชาติ[3]
อนุรักษนิยมทางสังคม[4]
จุดยืนฝ่ายขวา
กลุ่มระดับชาติพรรคพันธมิตร (ค.ศ.1952–73)
แนวร่วมแห่งชาติ (ค.ศ.1973–ปัจจุบัน)
สี  แดงและขาว
เพลงBersatu, Bersetia, Berkhidmat
วุฒิสภามาเลเซีย:
10 / 70
สภาผู้แทนราษฎรมาเลเซีย:
38 / 222
สภานิติบัญญัติมาเลเซีย:
126 / 587
เว็บไซต์
www.umno.org.my
ธงประจำพรรค
การเมืองมาเลเซีย
รายชื่อพรรคการเมือง
การเลือกตั้ง
1. สีแดงและขาวถูกนำมาใช้ตั้งแต่ก่อนที่จะได้รับเอกราช

องค์การมลายูรวมแห่งชาติ (อังกฤษ: United Malays National Organisation; มลายู: Pertubuhan Kebangsaan Melayu Bersatu) หรือ อัมโน (UMNO) เป็นพรรคการเมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศมาเลเซีย เป็นสมาชิกก่อตั้งของแนวร่วมแห่งชาติหรือบีเอ็น ซึ่งมีอำนาจครอบงำการเมืองมาเลเซียตั้งแต่ได้รับเอกราช อัมโนเน้นการปกป้องวัฒนธรรมมาเลเซีย คุณค่าอิสลาม และนโยบายที่เอื้อกับธุรกิจ

อัมโนมองตัวเองเป็นชาตินิยมมลายู อิสลามนิยม และอนุรักษนิยม เป็นตัวแทนของชาวมลายูในมาเลเซีย แม้ภูมิบุตรอื่น ๆ จะเข้าร่วมพรรคได้ก็ตาม การปกป้องสิทธิของชาวมลายูโดยอัมโนบางครั้งถูกมองว่าต้องแลกมาด้วยสิทธิของกลุ่มที่ไม่ใช่มลายู

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Helen Ting. "The Politics of National Identity in West Malaysia: Continued Mutation or Critical Transition? [The Politics of Ambiguity]" (PDF). Southeast Asian Studies, Kyoto University. J-Stage. p. 3/21 [33] and 5/21 [35]. UMNO came into being in 1946 under the impetus of the Anti-Malayan Union Movement based on this ideological understanding of ketuanan Melayu. Its founding president, Dato’ Onn Jaafar, once said that the UMNO movement did not adhere to any ideology other than Melayuisme, defined by scholar Ariffin Omar as “the belief that the interests of the bangsa Melayu must be upheld over all else”. Malay political dominance is a fundamental reality of Malaysian politics, notwithstanding the fact that the governing coalition since independence, the Alliance [subsequently expanded to form the Barisan Nasional or literally, the “National Front”], is multiethnic in its composition.
  2. Jinna Tay; Graeme Turner (24 July 2015). Television Histories in Asia: Issues and Contexts. Routledge. pp. 127–. ISBN 978-1-135-00807-9.
  3. Jan Senkyr (2013). "Political Awakening in Malaysia". KAS International Reports (7): 73–74. the UMNO can be described as a national conservative Islamic party
  4. Timothy J. Lomperis, September 1996, 'From People's War to People's Rule: Insurgency, Intervention, and the Lessons of Vietnam', page 212, ISBN 0807822736

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]