ข้ามไปเนื้อหา

หอส่งสัญญาณโทรทัศน์เปียงยาง

พิกัด: 39°3′0″N 125°45′31″E / 39.05000°N 125.75861°E / 39.05000; 125.75861
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
หอส่งสัญญาณโทรทัศน์เปียงยาง
หอส่งสัญญาณโทรทัศน์เปียงยาง
หอส่งสัญญาณโทรทัศน์เปียงยางตั้งอยู่ในเปียงยาง
หอส่งสัญญาณโทรทัศน์เปียงยาง
ที่ตั้งภายในเปียงยาง
ข้อมูลทั่วไป
สถานะเสร็จสมบูรณ์
ประเภทหอส่งสัญญาณ
ที่ตั้งเปียงยาง ประเทศเกาหลีเหนือ
พิกัด39°3′0″N 125°45′31″E / 39.05000°N 125.75861°E / 39.05000; 125.75861
แล้วเสร็จ1968
ความสูง
หลังคา150 เมตร (492 ฟุต)
หอส่งสัญญาณโทรทัศน์เปียงยาง
ฮันกึล
평양텔레비죤탑
ฮันจา
平壤텔레비죤塔
อาร์อาร์Pyeongyang Tellebijyon Tap
เอ็มอาร์P'yŏngyang T'ellebijyon T'ap

หอส่งสัญญาณโทรทัศน์เปียงยาง (เกาหลี: 평양텔레비죤탑) เป็นหอส่งสัญญาณโทรทัศน์ตั้งอิสระที่มีดาดฟ้าชมวิวและร้านอาหารแบบพาโนรามาที่ความสูง 150 เมตร (490 ฟุต) ในกรุงเปียงยาง ประเทศเกาหลีเหนือ[1] ตั้งอยู่ในสวนแคซ็อนในเขตโมรันบง ทางเหนือของสนามกีฬาคิม อิล-ซ็อง ทำหน้าที่ส่งสัญญาณสำหรับสถานีวิทยุโทรทัศน์กลางแห่งเกาหลี (KCTV)

ประวัติศาสตร์

[แก้]

สร้างขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1967[1] เพื่อขยายพื้นที่การออกอากาศ ซึ่งในเวลานั้นแย่มาก และเพื่อเริ่มการออกอากาศโทรทัศน์สี[2]

หอส่งสัญญาณโทรทัศน์เปียงยางมีพื้นฐานการออกแบบหลักมาจากหอออสตานคิโนในมอสโก[1] ซึ่งสร้างขึ้นในเวลาเดียวกัน[3]

คุณสมบัติ

[แก้]

มีสายอากาศกระจายสัญญาณและอุปกรณ์ทางเทคนิคอยู่ที่ความสูง 34.5, 65, 67.5 และ 85 เมตร (113, 213, 221 และ 279 ฟุต) ซึ่งตั้งอยู่บนชานชาลารูปวงกลม มีดาดฟ้าชมวิวอยู่ที่ความสูง 94 เมตร (308 ฟุต) เหนือพื้นดิน และยอดหอคอยมีสายอากาศสูง 50 เมตร (160 ฟุต) หอคอยนี้ใช้สายอากาศสะท้อนสัญญาณกำลังขยายสูงและสายอากาศแบบแผงเพื่อสร้างการครอบคลุมการรับสัญญาณโทรทัศน์แบบแอนะล็อกและดิจิทัลอย่างกว้างขวาง รวมถึงการรับสัญญาณวิทยุด้วย

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 วิลโลบี, รอเบิร์ต (2014). เกาหลีเหนือ. แบรดต์ทราเวิลไกด์. p. 140. ISBN 9781841624761. สืบค้นเมื่อ 8 พฤษภาคม 2018. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "Willo" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน
  2. สำนักข่าวกลางเกาหลี (31 มกราคม 2005). "เที่ยวชมสถานที่จากหอส่งสัญญาณของเปียงยาง". Korea Is One. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 มีนาคม 2005. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2011.
  3. "ไฟไหม้หอส่งสัญญาณโทรทัศน์เป็นหลักฐานใหม่ของการเสื่อมถอยของรัสเซีย". The Independent. แอสโซซิเอเต็ดเพรส. 28 สิงหาคม 2000. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 ตุลาคม 2012.