หยางเจียง

พิกัด: 21°51′25″N 111°58′59″E / 21.857°N 111.983°E / 21.857; 111.983
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
หยางเจียง

阳江
เกาะไห่หลิงในหยางเจียง
เกาะไห่หลิงในหยางเจียง
แผนที่
ที่ตั้งของนครหยางเจียงภายในมณฑลกวางตุ้ง
ที่ตั้งของนครหยางเจียงภายในมณฑลกวางตุ้ง
หยางเจียงตั้งอยู่ในประเทศจีน
หยางเจียง
หยางเจียง
ที่ตั้งในประเทศจีน
พิกัด (เทศบาลนครหยางเจียง): 21°51′25″N 111°58′59″E / 21.857°N 111.983°E / 21.857; 111.983
ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
มณฑลกวางตุ้ง
จำนวนเขตการปกครองระดับอำเภอ4
ศูนย์กลางการปกครองเขตเจียงเฉิง (江城区)
การปกครอง
 • เลขาธิการพรรคเฝิง หลิง (冯玲)
 • นายกเทศมนตรียฺหวี จินฟู่ (余金富)
พื้นที่
 • ทั้งจังหวัด7,955.27 ตร.กม. (3,071.55 ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง2,482.5 ตร.กม. (958.5 ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล2,482.5 ตร.กม. (958.5 ตร.ไมล์)
ความสูง4 เมตร (13 ฟุต)
ประชากร
 (สำมะโนปี 2020[1])
 • ทั้งจังหวัด2,602,959 คน
 • ความหนาแน่น330 คน/ตร.กม. (850 คน/ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง1,292,987 คน
 • ความหนาแน่นเขตเมือง520 คน/ตร.กม. (1,300 คน/ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล1,292,987 คน
 • ความหนาแน่นรวมปริมณฑล520 คน/ตร.กม. (1,300 คน/ตร.ไมล์)
เขตเวลาUTC+8 (มาตรฐานจีน)
รหัสไปรษณีย์529500 (ตัวเมือง)
529600, 529800, 529900 (พื้นที่อื่น ๆ)
รหัสพื้นที่0662
รหัส ISO 3166CN-GD-17
GDP¥27.39 พันล้าน (2004)
GDP ต่อหัว¥10,493 (2004)
ป้ายทะเบียนรถ粤Q
ชนชาติส่วนใหญ่ฮั่น
หยางเจียง
"หยางเจียง" เขียนด้วยตัวอักษรจีน
อักษรจีนตัวย่อ阳江
อักษรจีนตัวเต็ม陽江
ฮั่นยฺหวี่พินอินYángjiāng
เยลกวางตุ้งYèuhnggōng
ไปรษณีย์Yeungkong
ความหมายตามตัวอักษรแม่น้ำแสงแดด
แม่น้ำหยาง

หยางเจียง (จีน: 阳江; พินอิน: Yángjiāng[หมายเหตุ 1]) เป็นนครระดับจังหวัดทางตะวันตกเฉียงใต้ของมณฑลกวางตุ้ง สาธารณรัฐประชาชนจีน ทิศตะวันตกติดกับเม่าหมิง ทิศเหนือติดกับยฺหวินฝู ทิศตะวันออกติดกับเจียงเหมิน และทิศใต้ติดกับทะเลจีนใต้ ภาษาที่ใช้พูดในท้องถิ่นคือ ภาษาถิ่นเกาหยาง ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของภาษาจีนเยฺว่ จากข้อมูลการสำรวจสำมะโนประชากรปี 2020 หยางเจียงมีประชากร 2,602,959 คน โดยในจำนวนนี้อาศัยอยู่ในตัวเมือง 1,292,987 คน ซึ่งประกอบด้วยเขตเจียงเฉิงและอำเภอหยางตง[4]

ประวัติศาสตร์[แก้]

ในสมัยราชวงศ์ชิง อำเภอหยางเจียง เป็นส่วนหนึ่งของแคว้นเจ้าชิ่ง[5] และต่อมาได้แยกออกมาเป็นจังหวัดของตัวของ

เขตการปกครอง[แก้]

นครระดับจังหวัดหยางเจียง แบ่งออกเป็นเขตการปกครองระดับอำเภอทั้งหมด 4 แห่ง ประกอบด้วย 2 เขต, 1 นครระดับอำเภอ และ 1 อำเภอ

แผนที่
ชื่อ จีนตัวย่อ พินอิน ประชากร
(สำมะโนปี 2010)
พื้นที่
(ตร.กม.)
ความหนาแน่น
(คน/ตร.กม.)
เขตเจียงเฉิง 江城区 Jiāngchéng Qū 676,857 779,69 868
เขตหยางตง 阳东区 Yángdōng Qū 442,762 1,702.8 260
อำเภอหยางซี 阳西县 Yángxī Xiàn 452,625 1,435 315
นครหยางชุน 阳春市 Yángchūn Shì 849,505 4,037.8 210

หยางเจียงตั้งอยู่ห่างจากกว่างโจวโดยรถประจำทางประมาณ 2 ชั่วโมง 30 นาที สถานที่ที่มีชื่อเสียง ได้แก่ หาดจ๋าพัว (闸坡) และเกาะไห่หลิง (海陵岛)

เศรษฐกิจและวัฒนธรรม[แก้]

หยางเจียงเป็นที่ตั้งของหยางเจียงฉือปาจึ (阳江十八子) บริษัทผู้ผลิตมีด

กลุ่มศิลปินหยางเจียงกรุ๊ปตั้งอยู่ในเมืองแห่งนี้ โดยผลงานของสมาชิกได้รับแรงบันดาลใจจากท้องถิ่น

หยางเจียงเป็นที่ตั้งของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 6 เครื่อง ซึ่งเป็นสถานีพลังงานนิวเคลียร์ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศจีน

ภูมิศาสตร์[แก้]

หยางเจียง (เขียนในแผนที่ว่า YANG-CHIANG (YEUNGKONG) 陽江) (1954)

เมืองนี้ตั้งชื่อตามแม่น้ำมั่วหยาง (漠阳江)

เมืองนี้ได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหวขนาด 5.9 เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 1969 ซึ่งคร่าชีวิตผู้คนไปมากกว่า 3,000 คน และเป็นที่ทราบว่าบริเวณนี้มีปริมาณรังสีพื้นหลัง (background radiation) ตามธรรมชาติในระดับสูง[6]

ภูมิอากาศ[แก้]

หมายเหตุ[แก้]

  1. หยางเจียง เขียนเป็นอักษรโรมันได้เป็น Yangjiang และแบบอื่น ได้แก่ Yeungkong, Yang-keang[2] และ Yang-kiang[3]

อ้างอิง[แก้]

เชิงอรรถอ้างอิง[แก้]

  1. https://www.citypopulation.de/en/china/guangdong/admin/
  2. Baynes, T. S., บ.ก. (1878), "China" , Encyclopædia Britannica, vol. 5 (9th ed.), New York: Charles Scribner's Sons
  3.  Chisholm, Hugh, บ.ก. (1911). "Kwang-Tung" . สารานุกรมบริตานิกา ค.ศ. 1911. Vol. XV (11 ed.). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์.
  4. https://www.citypopulation.de/en/china/guangdong/admin/
  5. Bolton & al. (1941), p. 262.
  6. Zhang, SP (2010). "Mechanism study of adaptive response in high background radiation area of Yangjiang in China". Chinese Journal of Preventive Medicine. 44 (9): 815–819. PMID 21092626.
  7. 中国气象数据网 - WeatherBk Data (ภาษาChinese (China)). China Meteorological Administration. สืบค้นเมื่อ 2020-04-15.
  8. 中国地面国际交换站气候标准值月值数据集(1971-2000年). China Meteorological Administration. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-09-21. สืบค้นเมื่อ 2010-05-25.

บรรณานุกรม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]