ข้ามไปเนื้อหา

หม่อมเจ้าธำรงสิริ ศรีธวัช

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
หม่อมเจ้าธำรงสิริ ศรีธวัช
หม่อมเจ้า ชั้น 4
องคมนตรี
ดำรงตำแหน่ง4 เมษายน พ.ศ. 2458 - 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2475[1]
ประสูติ28 พฤษภาคม พ.ศ. 2421
สิ้นชีพตักษัย26 มีนาคม พ.ศ. 2477 (55 ปี)
หม่อมหม่อมเอื้อน ศรีธวัช ณ อยุธยา
หม่อสาย ศรีธวัช ณ อยุธยา
บุตร13 คน
ราชสกุลศรีธวัช
ราชวงศ์จักรี
พระบิดาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนศิริธัชสังกาศ
พระมารดาหม่อมอุ่ม ศรีธวัช ณ อยุธยา

มหาอำมาตย์โท หม่อมเจ้าธำรงสิริ ศรีธวัช (28 พฤษภาคม พ.ศ. 2421 – 26 มีนาคม พ.ศ. 2477) เป็นพระโอรสของ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนศิริธัชสังกาศ กับ หม่อมอุ่ม[ลิงก์เสีย] ประสูติ ณ วันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2421 ทรงเข้าพิธีเกศากันต์ ณ วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2431

หม่อมเจ้าธำรงสิริ ศรีธวัช ข้าหลวงเทศาภิบาลมณฑลร้อยเอ็ดองค์แรก เป็นข้าหลวงเทศาภิบาลสำเร็จราชการมณฑลปราจิณบุรีและมณฑลจันทบุรี ทรงดำรงตำแหน่งราชองครักษ์เวร[2][3] และองคมนตรีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6[4][5] องคมนตรีในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7[6] ถึงชีพิตักษัย ณ วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2476 (นับแบบปัจจุบัน พ.ศ. 2477) สิริพระชันษา 56 ปี[7]

รับราชการ

[แก้]
  • – นายอำเภอเสนาใหญ่
  • 23 มกราคม 2447 – ปลัดเมืองปราจิณบุรี[8]
  • 3 พฤษภาคม 2448 – รักษาราชการแทนผู้ว่าราชการเมืองปราจิณบุรี[9]
  • 8 กันยายน 2451 – ผู้ว่าราชการเมืองชลบุรี[10]
  • 15 พฤษภาคม 2455 – ข้าหลวงเทศาภิบาลสำเร็จราชการมณฑลร้อยเอ็ด[11]
  • 11 มิถุนายน 2455 – กราบถวายบังคมลาไปรับตำแหน่ง[12]
  • 19 มกราคม 2457 – สมุหเทศาภิบาลมณฑลจันทบุรี[13]
  • 17 กันยายน 2458 – สมุหเทศาภิบาลมณฑลปราจิณบุรี[14]
  • 9 ธันวาคม 2458 – ราชองครักษ์เวรเสือป่า[15]

พระยศ

[แก้]

พระยศเสือป่า

[แก้]
  • 28 กันยายน 2454 – นายหมู่ตรี[16]
  • 3 เมษายน 2455 – นายหมู่โท[17]
  • 24 พฤศจิกายน 2456 – นายหมู่ใหญ่[18]
  • 16 เมษายน 2458 – นายกองตรี[19]
  • 6 มกราคม 2459 – นายกองโท[20]
  • 30 ธันวาคม 2461 – นายกองเอก[21]

โอรส - ธิดา

[แก้]

หม่อมเอื้อน ศรีธวัช ณ อยุธยา (สกุลเดิม : บุนนาค) ธิดาพระยาทรงสุรเดช

หม่อมสาย ศรีธวัช ณ อยุธยา (สกุลเดิม : สิงหสุวิช)

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

[แก้]

หม่อมเจ้าธำรงสิริ ศรีธวัช ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์เหรียญและเข็มต่างๆ ดังนี้

พงศาวลี

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2475/A/200.PDF
  2. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2458/D/2180.PDF
  3. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2467/D/433.PDF
  4. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2458/D/112.PDF
  5. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2458/D/114.PDF
  6. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2468/D/2714.PDF
  7. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2477/D/73.PDF
  8. แจ้งความกระทรวงมหาดไทย
  9. แจ้งความกระทรวงมหาดไทย
  10. แจ้งความกระทรวงมหาดไทย
  11. แจ้งความกระทรวงมหาดไทย
  12. กราบถวายบังคมลา
  13. แจ้งความกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ย้ายข้าราชการ
  14. แจ้งความกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ย้ายและตั้งตำแหน่งสมุหเทศาภิบาล
  15. ประกาศตั้งราชองครักษ์เวร
  16. พระราชทานสัญญาบัตรกองเสือป่า
  17. ส่งสัญญาบัตรเสือป่าไปพระราชทาน
  18. ส่งสัญญาบัตรเสือป่าไปพระราชทาน
  19. พระราชทานยศเสือป่า
  20. พระราชทานยศเสือป่า
  21. พระราชทานยศเสือป่า
  22. 22.0 22.1 22.2 หนังสืออนุสรณ์พระราชทานเพลิงพศหม่อมสาย ศรีธวัช ณ อยุธยา
  23. "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2021-05-20.
  24. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๓๘ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๓๒๐๓, ๒๙ มกราคม ๒๔๖๔
  25. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๓๕ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๒๙๒๖, ๒๕ มกราคม ๒๔๖๑
  26. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๓๒ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๑๘๙๒, ๒๑ พฤศจิกายน ๒๔๕๘
  27. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๔๕ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๒๔๐๓, ๑๘ พฤศจิกายน ๒๔๗๑
  28. ราชกิจจานุเบกษา, ส่งเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไปพระราชทาน, เล่ม ๔๓ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๕๐๐, ๒ พฤษภาคม ๒๔๖๙
  29. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์รัชกาลปัจจุบัน, เล่ม ๓๑ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๒๓๙๘, ๑๐ มกราคม ๒๔๕๗
  30. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเข็มพระชนมายุสมมงคล[ลิงก์เสีย], เล่ม ๒๖ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๒๖๓๕, ๖ มีนาคม ๑๒๘
  31. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเข็มข้าหลวงเดิม, เล่ม ๓๑ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๒๑๐๑, ๑๓ ธันวาคม ๒๔๕๗