หน่วยบัญชาการทหารสหรัฐภาคอวกาศ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
หน่วยบัญชาการทหารสหรัฐภาคอวกาศ
(USSPACECOM)
ตราหน่วยบัญชาการทหารสหรัฐภาคอวกาศ
ประจำการ23 กันยายน 1985 – 1 ตุลาคม 2002 [1]
(องค์กรที่หนึ่ง)

29 สิงหาคม 2019 – ปัจจุบัน
(องค์กรที่สอง)


ประเทศสหรัฐอเมริกา
เหล่าผสมเหล่าทัพ
รูปแบบหน่วยบัญชาการรบรวม
บทบาทสงครามอวกาศ
ขึ้นกับกระทรวงกลาโหมสหรัฐ
ที่ตั้งหน่วยฐานทัพอากาศปีเตอร์สัน
รัฐโคโลราโด สหรัฐ[2][3]
เพลงหน่วย“Space Command March”[4]
เว็บไซต์www.spacecom.mil

หน่วยบัญชาการทหารสหรัฐภาคอวกาศ (อังกฤษ: United States Space Command) เป็นหนึ่งในสิบเอ็ดหน่วยบัญชาการรบรวมของกระทรวงกลาโหมสหรัฐ รับผิดชอบปฏิบัติการทางทหารในภาคอวกาศ กล่าวคือทุกปฏิบัติการในระดับความสูงเกินกว่า 100 กิโลเมตรเหนือพื้นดิน

หน่วยบัญชาการทหารสหรัฐภาคอวกาศ แรกถูกก่อตั้งในปี 1985 แต่ถูกยุบเลิกในปี 2002 และถูกโอนภารกิจให้แก่หน่วยบัญชาการยุทธศาสตร์[5] ต่อมารัฐบาลดอนัลด์ ทรัมป์ สั่งรื้อฟื้นหน่วยในปี 2019

โครงสร้าง[แก้]

ฝ่ายทหารบก[แก้]

  • กลุ่มงานวางแผนอวกาศทหารบก (Army Space Planning Group)
  • สำนักงานอวกาศทหารบก (Army Space Agency)
  • บก.ทหารบกภาคอวกาศ (Army Space Command)
  • บก.ป้องกันอวกาศและยุทธศาสตร์ทหารบก (Army Space and Strategic Defense Command)
  • บก.ป้องกันอวกาศและมิสไซล์ทหารบก (Army Space and Missile Defense Command)

ฝ่ายทหารเรือ[แก้]

  • บก.ทหารเรือภาคอวกาศ (Naval Space Command)
  • บก.สงครามเครือข่ายทหารเรือ (Naval Network Warfare Command)

ฝ่ายทหารอากาศ[แก้]

  • บก.ทหารอากาศภาคอวกาศ (Air Force Space Command)
  • ทัพอาอากาศที่ 14 (Fourteenth Air Force)

อ้างอิง[แก้]

  1. "Air Force Magazine". Air Force Association. December 21, 2006 – โดยทาง Google Books.
  2. "United States Space Command Organizational Fact Sheet" (PDF). United States Space Command. 29 August 2019. สืบค้นเมื่อ 2021-02-02.
  3. Hitchens, Theresa (30 August 2019). "Raymond's First SPACECOM Move: Two New Subcommands and Their Leaders". Breaking Defense. สืบค้นเมื่อ 2019-09-08.
  4. U.S. Air Force Academy, Band (2009-08-27). "Space Command March". Spotify (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2021-12-15.
  5. Handberg, Roger (2000). Seeking New World Vistas: The Militarization of Space. Greenwood Publishing Group. p. 109. ISBN 0-275-96295-4.