สีประจำชาติ
สีประจำชาติ เป็นส่วนหนึ่งของอัตลักษณ์ประจำชาติ หลายรัฐ และ หลายประเทศ ได้นำสีประจำชาติมาใช้อย่างเป็นทางการ (นิตินัย) "สีประจำชาติ" ในขณะที่หลายประเทศได้นำสีสีประจำชาติมาใช้โดยพฤตินัย สีประจำชาติมักจะปรากฏสื่อ , ธงของประเทศ สีที่ใช้ในการเล่นกีฬา เป็นต้น
รายการ[แก้]
ประเทศ | ธง | สีหลัก | สีรอง | ข้อมูลเพิ่มเติม |
---|---|---|---|---|
ประเทศอาร์เจนตินา | ![]() |
สีฟ้าอ่อน และ สีขาว[1] |
| |
ประเทศแอลเบเนีย | ![]() |
สีแดง และ สีดำ | ||
ประเทศอาร์มีเนีย | ![]() |
สีแดง และ สีฟ้า | ||
ประเทศออสเตรเลีย | ![]() |
สีเขียว และ สีทอง[2] | สีแดง, สีขาว และ สีฟ้า | |
ประเทศบังกลาเทศ | ![]() |
สีเขียว และ สีแดง | สีเขียว และ สีแดง | |
ประเทศเบลเยียม | ![]() |
สีแดง | สีดำ และ สีเหลือง | |
ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา | ![]() |
สีฟ้า, สีทอง และ สีขาว | ||
ประเทศบราซิล | ![]() |
สีเขียว และ สีเหลือง | สีฟ้า และ สีขาว | |
ประเทศแคนาดา | ![]() |
สีแดง และ สีขาว[3] | สีดำ | |
ประเทศชิลี | ![]() |
สีแดง, สีขาว และ สีฟ้า | ||
สาธารณรัฐเช็ก | ![]() |
สีขาว, สีแดง, และ สีฟ้า[4][5][6][7] | ||
ประเทศฟินแลนด์ | ![]() |
สีขาว และ สีฟ้า | สีม่วง และ สีแดง | |
ประเทศฝรั่งเศส | ![]() |
สีฟ้า, สีขาว, และสีแดง[8] | ||
ประเทศเยอรมนี | ![]() |
สีดำ, สีแดง และ สีทอง | สีดำ และ สีขาว | |
ประเทศกานา | ![]() |
สีแดง, สีทอง, สีเขียว และ สีดำ | สีขาว และ สีดำ | |
ประเทศกรีซ | ![]() |
สีฟ้า และ สีขาว | ||
ประเทศเฮติ | ![]() |
สีแดง และ สีฟ้า[9] | ||
ประเทศฮังการี | ![]() |
สีแดง, สีขาว และ สีเขียว | ||
เกาะไอร์แลนด์ | ![]() |
สีเขียว | สีขาว และ สีส้ม | |
ประเทศอิสราเอล | ![]() |
สีฟ้า และ สีขาว[10] | สีประจำชาติอิสราเอล | |
ประเทศอิตาลี | ![]() |
สีเขียว, สีขาว และ สีแดง[11] | สีกรมท่า | สีประจำชาติอิตาลี |
ประเทศจาเมกา | ![]() |
สีเขียว, สีทอง และ สีดำ | ||
ประเทศลิทัวเนีย | ![]() |
สีเขียว และ สีขาว | ||
ประเทศมาเลเซีย | ![]() |
สีทอง และ สีดำ | สีแดง, สีขาว, สีเหลือง และ สีฟ้า | |
ประเทศเม็กซิโก | ![]() |
สีเขียว, สีขาว, และ สีแดง | ||
ประเทศเนเธอร์แลนด์ | ![]() |
สีส้ม | สีแดง, สีขาว และ สีฟ้า | |
ประเทศนิวซีแลนด์ | ![]() |
สีดำ[12] | สีขาว, สีเงิน, สีแดงเหลือง | |
ประเทศปากีสถาน | ![]() |
สีเขียวและสีขาว | ||
ประเทศรัสเซีย | ![]() |
สีขาว, สีฟ้า และ สีแดง | ||
ประเทศเซอร์เบีย | ![]() |
สีแดง, สีฟ้า และ สีขาว[13][14][15] | ||
ประเทศยูเครน | ![]() |
สีฟ้า และ สีเหลือง | สีประจำชาติยูเครน | |
สหราชอาณาจักร | ![]() |
สีแดง, สีขาว และ สีฟ้า |
สีประจำชาติสหราชอาณาจักร | |
สหรัฐอเมริกา | ![]() |
สีแดง, สีขาว และ สีฟ้า | ||
ประเทศอุรุกวัย | ![]() |
สีฟ้า และ สีขาว | สีแดง; สีฟ้าอ่อน ใช้ในการเล่นกีฬา |
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "Símbolos nacionales". Government of Argentina. สืบค้นเมื่อ 2014-08-25.
- ↑ "Our national symbols". Government of Australia. 1 November 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-26. สืบค้นเมื่อ 2013-03-17.
- ↑ "National Colours - Red and White". Government of Canada. สืบค้นเมื่อ 2013-10-26.
- ↑ http://www.hrad.cz/cs/ceska-republika/statni-symboly.shtml
- ↑ cs:Státní barvy České republiky
- ↑ http://vlast.cz/symboly-ceske-republiky/
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-02-02. สืบค้นเมื่อ 2015-10-10.
- ↑ "Le drapeau tricolor" [The Tricolor Flag] (in French). 2002-06-20.
- ↑ "CIA World Factbook: National Symbols". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-11-08. สืบค้นเมื่อ 2015-10-10.
- ↑ "Israel National Symbols: The Israeli Flag". Jewish Virtual Library. สืบค้นเมื่อ 11 June 2014.
- ↑ Ferorelli, Nicola (1925). La vera origine del tricolore italiano. Rassegna storica del Risorgimento. Vol. 12.
- ↑ "Design of The New Zealand Orders Insignia".
- ↑ The Journal of the Orders & Medals Research Society of Great Britain. Orders and Medals Research Society. 1969. p. 207).
- ↑ Chronicles. Rockford Institute. 1994. p. 39.
- ↑ Nigel Thomas; Krunoslav Mikulan (2006). The Yugoslav Wars (2): Bosnia, Kosovo and Macedonia 1992 - 2001. Osprey Publishing. p. 58. ISBN 978-1-84176-964-6.[ลิงก์เสีย]