สายกวานถัง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สายกวานถัง
觀塘綫
ข้อมูลทั่วไป
สถานะเปิดให้บริการ
เจ้าของเอ็มทีอาร์ คอร์ปอเรชัน
ที่ตั้งเขต: เกาลูนซิตี, เยาจิมหมง, ซัมชุยโป, เกาลูนซิตี, หว่องไทซิน, กวานถัง, ไซกุง, เจียงจวินอ้าว
ปลายทาง
เชื่อมต่อกับ
เคยเชื่อมต่อกับ
จำนวนสถานี17
สีบนแผนที่     สีเขียว (#00AB4E)
การดำเนินงาน
รูปแบบระบบขนส่งมวลชนเร็ว
ระบบเอ็มทีอาร์
ผู้ดำเนินงานเอ็มทีอาร์ คอร์ปอเรชัน
ศูนย์ซ่อมบำรุงอ่าวเกาลูน
ขบวนรถ
ผู้โดยสาร604,600 เฉลี่ยรายวัน
(วันธรรมดา, กันยายน 2014)[1]
ประวัติ
เปิดเมื่อ1 ตุลาคม 1979; 44 ปีก่อน (1979-10-01)
ส่วนต่อขยายล่าสุด23 ตุลาคม 2016; 7 ปีก่อน (2016-10-23)
ข้อมูลทางเทคนิค
ระยะทาง17.32 km (10.76 mi)[2]
ความยาวทางวิ่ง18.4 km (11.4 mi)
รางกว้าง1,432 mm (4 ft 8 38 in) (เถียวเจงหลิ่ง – เหยาหม่าเต๋)
1,435 mm (4 ft 8 12 in) (ส่วนต่อขยายสายกวานถัง)
ระบบจ่ายไฟ1,500 V DC (เหนือหัว)
ความเร็ว
  • 33 km/h (21 mph) (ให้บริการ)
  • 80 km/h (50 mph) (สูงสุด)
[3]
อาณัติสัญญาณAdvanced SelTrac CBTC (อนาคต)[4]
Train protection system
  • SACEM (กำลังเปลี่ยน)[5]
แผนที่เส้นทาง

สายกวานถัง เป็นหนึ่งในสิบเส้นทางของรถไฟฟ้าเอ็มทีอาร์ วิ่งจากสถานีโหยวหมาตี้ ในเกาลูนตะวันตก ไปยังสถานีเตี้ยวจิ๋งหลิง เวลาในการเดินทาง 27 นาที สีประจำเส้นทางคือ สีเขียว

แผนที่[แก้]

แผนที่เส้นทางทางภูมิศาสตร์

สถานี[แก้]

สถานีเกาลูนเบย์
สถานีกวานถัง
สีและสถานี เขต เชื่อมต่อ เปิดให้บริการ
สถานีหวงปู้* เกาลูนซิตี
สถานีเหอเหวินเถียน*
สถานีโหยวหมาตี้
ชื่อเดิม วอเตอร์ลู
เขตโหยวเจียนวั่ง 31 ธันวาคม ค.ศ. 1979
สถานีวั่งเจี่ยว
ชื่อเดิม Argyle
สถานีพรินซ์เอ็ดเวิร์ด 10 พฤษภาคม ค.ศ. 1982
สถานีฉือเสียเหว่ย์ เขตชามชุยโป 1 ตุลาคม ค.ศ. 1979
สถานีจิ่วหลงถัง เกาลูนซิตี
สถานีเล่อฟู่ เขตหวงต้าเซียน
สถานีหวงต้าเซียน
สถานีไดมอนด์ฮิลล์
สถานีไฉ่หง
เขตกวานถัง
สถานีเกาลูนเบย์
สถานีหนิวโถวเจี่ยว
สถานีกวานถัง
สถานีหลานเถียน 1 ตุลาคม ค.ศ. 1989
สถานีโหยวถัง 4 สิงหาคม ค.ศ. 2002
สถานีเตี้ยวจิ๋งหลิง ซีก้ง 18 สิงหาคม ค.ศ. 2002
หมายเหตุ

* โครงการ

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Weekday patronage of MTR heavy rail network from September 1 to 27 and September 28 to October 25, 2014" (PDF). Legislative Council. 29 October 2014. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 15 May 2021. สืบค้นเมื่อ 15 April 2015.
  2. "Kwun Tong Line". Highways Department, The Government of the Hong Kong Special Administrative Region. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 August 2022. สืบค้นเมื่อ 2022-08-06.
  3. "Business Overview 2021" (PDF). MTR Corporation. July 2021. p. 6. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 30 December 2019. สืบค้นเมื่อ 2022-08-06.
  4. "Alstom and Thales to supply advanced CBTC signalling system to Hong Kong's seven metro lines". RailwayPRO. 2015-01-26. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 August 2022. สืบค้นเมื่อ 2022-08-17.
  5. "Annual Report 2021" (PDF). MTR Corporation. 2022-03-10. p. 22. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 10 October 2022. สืบค้นเมื่อ 2022-08-06. In 2021, we continued with the project to replace the existing signalling system (“SACEM System”) on our four urban lines (Island, Tseung Kwan O, Kwun Tong and Tsuen Wan lines).

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]