สมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลละฮ์แห่งปะหัง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อับดุลละฮ์
عبد الله‎
King Abdullah of Pahang at the Enthronement of Naruhito (1).jpg
ยังดีเปอร์ตวนอากง
ครองราชย์31 มกราคม ค.ศ. 2019 – ปัจจุบัน
ราชาภิเษก30 กรกฎาคม ค.ศ. 2019
ก่อนหน้ามูฮัมมัดที่ 5
รองนัซริน ชะฮ์
นายกรัฐมนตรีมาฮาดีร์ บิน โมฮามัด
มุฮ์ยิดดิน ยัซซิน
อิซมาอิล ซับรี ยักกบ
อันวาร์ อิบราฮิม
สุลต่านรัฐปะหัง
ครองราชย์11 มกราคม ค.ศ. 2019 – ปัจจุบัน
คำประกาศ15 มกราคม ค.ศ. 2019
ก่อนหน้าอะฮ์มัด ชะฮ์
ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงเติงกูฮัซซานัล อิบราฮิม อาลัม ชะฮ์
หัวหน้าคณะรัฐมนตรีวัน รซดี วัน อิซมาอิล
คู่อภิเษก
พระราชบุตร
พระนามเต็ม
เติงกูอับดุลละฮ์ อิบนี เติงกูอะฮ์มัด ชะฮ์
นามเต็ม
อัลซุลตัน อับดุลละฮ์ รีอายาตุดดิน อัลมุซตาฟา บิลละฮ์ ชะฮ์ อิบนี อัลมัรฮุม ซุลตัน ฮาจี อะฮ์มัด อัลมุซตะอ์มิน บิลละฮ์ ชะฮ์[fn 1]
ราชวงศ์เบินดาฮารา
พระราชบิดาสมเด็จพระราชาธิบดีฮัจญี อาห์หมัด ชาห์
พระราชมารดาเติงกูอัมปวน อัฟซัน
ประสูติ (1959-07-30) 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1959 (63 ปี)
อิซตานา มังกา ตุงกัล, เปอกัน, รัฐปะหัง, สหพันธรัฐมาลายา (ปัจจุบันคือประเทศมาเลเซีย)
ศาสนาอิสลามนิกายซุนนี
ลายพระอภิไธย
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง
รับใช้ มาเลเซีย
บริการ/สังกัด กองทัพบกมาเลเซียMalaysian Army
ประจำการ1978–ปัจจุบัน
ชั้นยศMalaysia-army-OF-10.svg จอมพล
หน่วย
สมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลละฮ์แห่งปะหัง
เหรียญรางวัล
โปโล
ตัวแทนของ ธงของประเทศมาเลเซีย มาเลเซีย
ซีเกมส์
เหรียญทอง - ชนะเลิศ สิงคโปร์ 1983 ทัวร์นาเมนต์ชาย[2]

สมเด็จพระราชาธิบดี สุลต่านอับดุลละฮ์ รีอายาตุดดิน อัลมุซตาฟา บิลละฮ์ ชะฮ์ (พระราชสมภพวันที่ 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1959) ทรงดำรงตำแหน่งยังดีเปอร์ตวนอากง (กษัตริย์) องค์ที่ 15แห่งประเทศมาเลเซีย และสุลต่านรัฐปะหังองค์ที่ 6 ตั้งแต่เดือนมกราคม ค.ศ. 2019 พระองค์ดำรงตำแหน่งสุลต่านในวันที่ 15 มกราคม ค.ศ. 2019 ต่อจากพระราชบิดา สุลต่านอะฮ์มัด ชะฮ์ ผู้ที่ในการประชุมของกรมปรึกษาราชบัลลังก์ตัดสินใจให้สละราชสมบัติในวันที่ 11 มกราคม ค.ศ. 2019[3]

ในวันที่ 24 มกราคม ค.ศ. 2019 ไม่ที่วันหลังการสืบพระราชบัลลังก์ปะหัง พระองค์ได้รับเลือกเป็นยังดีเปอร์ตวนอากงองค์ที่ 16 ประมุขแห่งรัฐ ของประเทศมาเลเซีย[4] และสาบานตนเข้ารับตำแหน่งในวันที่ 31 มกราคม ค.ศ. 2019 พระองค์ยังเคยเป็นสมาชิกสภาสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศใน ค.ศ. 2015 ถึง 2019[5]

ชีวิตช่วงต้น[แก้]

เติงกูอับดุลละฮ์พระราชสมภพในวันที่ 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1959 ที่อิซตานา มังกา ตุงกัล เปอกัน รัฐปะหัง พระองค์เป็นพระราชโอรสองค์แรกของปาดูกาอายาฮันดาซุลตันอะฮ์มัด ชะฮ์กับเติงกูอัมปวน อัฟซัน โดยเป็นโอรสองค์ที่ 4 จากพี่น้องแปดพระองค์ โดยผู้ที่มีพระชนมายุมากที่สุดคือเติงกูเมอรียัม[6][7]

พระราชพงศาวลี[แก้]

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
16. สุลต่านอะฮ์มัด มูอัซซัมแห่งรัฐปะหัง (= 12 = 22)
 
 
 
 
 
 
 
8. สุลต่านอับดุลละฮ์ อัลมุอ์ตัซซิมแห่งรัฐปะหัง
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
17. จิก กูซูมา บินตี ตกมีนัล แดง โกโร
 
 
 
 
 
 
 
4. สุลต่านอาบู บาการ์แห่งรัฐปะหัง
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
18. ยังบาฮากียาตุน อับดุลละฮ์ แห่งปูเลาดูยุง (ตรังกานู)
 
 
 
 
 
 
 
9. กัลซุม แห่งปูเลาดูยุง (รัฐตรังกานู)
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2. สุลต่านอะฮ์มัด ชะฮ์แห่งรัฐปะหัง
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
20. สุลต่านอิดริซ ชะฮ์ที่ 1 แห่งรัฐเปรัก
 
 
 
 
 
 
 
10. สุลต่านอิซกัดนาร์แห่งรัฐเปรัก
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
21. จิก งะฮ์ มานะฮ์ บินตี มันดา ดูวายัต
 
 
 
 
 
 
 
5. ฟาตีมะฮ์ เจ้าหญิงแห่งรัฐปะหัง
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
22. สุลต่านอะฮ์มัด มูอัซซัมแห่งรัฐปะหัง (= 12 = 16)
 
 
 
 
 
 
 
11. นง ฟาตีมา เจ้าหญิงแห่งรัฐปะหัง (พระเชษฐภคินี/ขนิษฐาร่วมพระราชบิดามารดาของ 8)
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
23. ฟาตีมะฮ์ เจ้าหญิงแห่งรัฐฟะหัง (ลูกพี่ลูกน้ององค์แรกของพระราชสวามี)
 
 
 
 
 
 
 
1. สุลต่านอับดุลละฮ์แห่งรัฐปะหัง
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
24. อาลี เบินดาฮารา ซรีมาฮาราจาแห่งรัฐปะหัง
 
 
 
 
 
 
 
12. สุลต่านอะฮ์มัด มูอัซซัมแห่งรัฐปะหัง (= 16 = 22)
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
25. เอินจิก ลง บินตี เอซะฮ์ เอินจิก ปวน ลิงกา
 
 
 
 
 
 
 
6. มูฮัมมัด เจ้าชายแห่งรัฐปะหัง (พระอนุชา/เชษฐาร่วมพระราชบิดามารดาของ 8)
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
26. ฮาจี มูฮัมมัด ตาลิบ แห่งเซอมันตัน
 
 
 
 
 
 
 
13. จิก ฮัจจะฮ์ ฟาตีมา ตาลิบ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
3. อัฟซัน เจ้าหญิงแห่งรัฐปะหัง
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
28. อิดริซ เจ้าชายแห่งตรังกานู (พระราชนัดดาแด่ไซนัลอาบีดินที่ 2)
 
 
 
 
 
 
 
14. มุซตาฟา เจ้าชายแห่งรัฐตรังกานู เติงกูมูดา
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
7. อาอีชะฮ์ มันดัก เจ้าหญิงแห่งรัฐตรังกานู
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
30. ฮาจีวัน ยูซุฟ ปูเตะฮ์ แห่งบูกิตบายัซ (กลันตัน)
 
 
 
 
 
 
 
15. วัน ซาลามา ปูเตะฮ์
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

หมายเหตุ[แก้]

  1. มีความหมายว่า "สุลต่านอับดุลละฮ์ ในฐานะผู้ปกป้องอิสลาม ซึ่งถูกเลือกโดยอัลลอฮ์"[1]

อ้างอิง[แก้]

  1. Bernama (15 January 2019). "Sultan of Pahang officially addressed as Al-Sultan Abdullah Ri'ayatuddin Al-Mustafa Billah Shah". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-02-19. สืบค้นเมื่อ 17 July 2019.
  2. "Raja Permaisuri Agong bercerita tentang pingat emas YDP Agong" [Raja Permaisuri Agong bercerita tentang pingat emas YDP Agong]. kosmo,com (ภาษามาเลย์). 28 July 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-08-01. สืบค้นเมื่อ 28 July 2019.
  3. "Tengku Abdullah to be proclaimed Pahang sultan on Jan 15". MalaysiaKini. 12 January 2019. สืบค้นเมื่อ 5 July 2019.
  4. "Sultan Pahang, Agong Malaysia ke-16" [Sultan Pahang, 16th Malaysia Agong]. Bernama,com (ภาษามาเลย์). 24 January 2019. สืบค้นเมื่อ 11 July 2019.
  5. Bernama (20 February 2019). "We will miss you - Infantino thanks YDP Agong after FIFA Council exit". Stadium Astro. สืบค้นเมื่อ 5 July 2019.
  6. "Biodata Pemangku Raja Pahang Tengku Abdullah Sultan Ahmad Shah". Berita Harian. 12 January 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 July 2019. สืบค้นเมื่อ 5 July 2019.
  7. "Former Pahang ruler Sultan Ahmad Shah dies at age 88". The Star (Malaysia). 23 May 2019. สืบค้นเมื่อ 5 July 2019.