สมเด็จพระพุทธพจนวชิรมุนี (มนตรี คณิสฺสโร)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สมเด็จพระพุทธพจนวชิรมุนี

(มนตรี คณิสฺสโร)
คำนำหน้าชื่อท่านเจ้าประคุณ
ส่วนบุคคล
เกิด1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2484 (83 ปี)
นิกายธรรมยุติกนิกาย
การศึกษานักธรรมชั้นเอก
เปรียญธรรม 5 ประโยค
ศน.บ., M.A.
ตำแหน่งชั้นสูง
ที่อยู่วัดเครือวัลย์วรวิหาร แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร
อุปสมบท28 มีนาคม พ.ศ. 2504
พรรษา63
ตำแหน่งกรรมการมหาเถรสมาคม
ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 11 (ธรรมยุต)
รองแม่กองธรรมสนามหลวง
เจ้าอาวาสวัดเครือวัลย์วรวิหาร

สมเด็จพระพุทธพจนวชิรมุนี นามเดิม มนตรี บุญถม ฉายา คณิสฺสโร เป็นสมเด็จพระราชาคณะ ชั้นสุพรรณบัฏ ฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง รองประธานกรรมการคณะธรรมยุต กรรมการมหาเถรสมาคม[1] ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 11 (ธรรมยุต) รองแม่กองธรรมสนามหลวง และเจ้าอาวาสวัดเครือวัลย์วรวิหาร

ชาติภูมิ[แก้]

สมเด็จพระพุทธพจนวชิรมุนี มีนามเดิมว่า มนตรี บุญถม เกิดเมื่อวันเสาร์ ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 3 ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2484 ณ บ้านเลขที่ 36 หมู่ 4 ตำบลโคกสลุด อำเภอท่าวุ้ง จังหวัดลพบุรี

บรรพชาและอุปสมบท[แก้]

บรรพชา[แก้]

สมเด็จพระพุทธพจนวชิรมุนี บรรพชาเป็นสามเณร เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2502 ที่พระอุโบสถ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร ถนนเฟื่องนคร แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

อุปสมบท[แก้]

สมเด็จพระพุทธพจนวชิรมุนี อุปสมบทเป็นพระภิกษุ เมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2504 ณ ที่พระอุโบสถ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร ถนนเฟื่องนคร แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร โดยมีสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงชินวราลงกรณ เมื่อครั้งดำรงสมณศักดิ์ที่ พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ เป็นพระอุปัชฌาย์ และพระธรรมสิริวัฒน์ (ทองคำ กมฺพุวณฺโณ) เป็นพระกรรมวาจาจารย์

วิทยฐานะ[แก้]

วิทยฐานะสายสามัญ[แก้]

วิทยฐานะพระปริยัติธรรม[แก้]

  • พ.ศ. 2501 สอบประโยค ป.ธ.5 ได้ สำนักเรียนวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม ราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร

ตำแหน่งการปกครองคณะสงฆ์[แก้]

  • พ.ศ. 2515 ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม
  • พ.ศ. 2520 เลขานุการเจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต
  • พ.ศ. 2530 เลขานุการสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 18
  • พ.ศ. 2539 ผู้รักษาการแทนเจ้าคณะจังหวัดลพบุรี-สระบุรี (ธรรมยุต)
  • พ.ศ. 2545 รองเจ้าคณะภาค 11 (ธรรมยุต)
  • พ.ศ. 2552 เจ้าอาวาสวัดเครือวัลย์ วรวิหาร[2]
  • พ.ศ. 2553 กรรมการมหาเถรสมาคม[3]
  • พ.ศ. 2553 เจ้าคณะภาค 11 (ธรรมยุต)[4]
  • พ.ศ. 2561 รองประธานกรรมการคณะธรรมยุต
  • พ.ศ. 2564 ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 11 (ธรรมยุต)[5]

สมณศักดิ์[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  • สนติ์ แสวงบุญ และ สมบูรณ์ บุญครอบ. ทำเนียบสมณศักดิ์. นครปฐม : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556. หน้า 122.
  • พระธรรมคุณาภรณ์ (พิมพ์ ญาณวีโร)ทำเนียบพระราชาคณะ ฉบับสมบูรณ์ พุทธศักราช 2556. กาญจนบุรี : ธรรมเมธี - สหายพัฒนาการพิมพ์, 2556. หน้า 340. ISBN 978-616-348-356-0
  1. สำนักเลขาธิการมหาเถรสมาคม, แผนผังการมหาเถรสมาคม เก็บถาวร 2014-01-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  2. "มติมหาเถรสมาคม ครั้งที่ 5/2548 สำนักเลขาธิการมหาเถรสมาคม วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2548 : มติที่ 99/2548 เรื่อง แต่งตั้ง พระธรรมวราภรณ์ ให้เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดเครือวัลย์ พระอารามหลวง กรุงเทพมหานคร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2014-02-28.
  3. "มติมหาเถรสมาคม ครั้งที่ 4/2553 สำนักเลขาธิการมหาเถรสมาคม วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2553 : มติที่ 96/2553 เรื่อง แต่งตั้งกรรมการมหาเถรสมาคม" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2014-02-28.
  4. "มติมหาเถรสมาคม ครั้งที่ 23/2553 สำนักเลขาธิการมหาเถรสมาคม วันที่ 11 ตุลาคม 2553 : มติที่ 499/2553 เรื่อง เสนอแต่งตั้งเจ้าคณะภาคของคณะสงฆ์คณะธรรมยุต" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2014-02-28.
  5. "สรุปการประชุมมหาเถรสมาคม ครั้งที่ 9/2564". สำนักเลขาธิการมหาเถรสมาคม. 28 เมษายน 2564. สืบค้นเมื่อ 17 กรกฎาคม 2564. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  6. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์ (พระครูวินยาภิวุฒิ เป็น พระสิริรัตนสุธี), เล่ม 99, ตอนที่ 184, 17 ธันวาคม พ.ศ. 2525, ฉบับพิเศษ หน้า 3.
  7. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์ (พระสิริรัตนสุธี เป็น พระราชกวี) เก็บถาวร 2015-09-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม 109, ตอนที่ 155, 5 ธันวาคม พ.ศ. 2535, หน้า 11.
  8. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์ (พระราชกวี เป็น พระเทพกวี), เล่ม 115, ตอนที่ 24 ข, 9 ธันวาคม พ.ศ. 2541, หน้า 5.
  9. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์ (พระเทพกวี เป็น พระธรรมวราภรณ์), เล่ม 121, ตอนที่ 25 ข, 24 ธันวาคม พ.ศ. 2547, หน้า 4.
  10. ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศสถาปนาสมณศักดิ์ (พระธรรมวราภรณ์ เป็น พระพรหมวิสุทธาจารย์), เล่ม 130, ตอนที่ 29 ข, 5 ธันวาคม พ.ศ. 2556, หน้า 1.
  11. ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศสถาปนาสมณศักดิ์ (พระธรรมวราภรณ์ เป็น พระพรหมวิสุทธาจารย์), เล่ม 131, ตอนที่ 2 ข, 21 มกราคม พ.ศ. 2557, หน้า 1-3.
  12. ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศสถาปนาสมณศักดิ์, เล่ม 139, ตอนที่ 48 ข, 15 พฤศจิกายน 2565, หน้า 1

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

ก่อนหน้า สมเด็จพระพุทธพจนวชิรมุนี (มนตรี คณิสฺสโร) ถัดไป
พระธรรมดิลก (สุบิน เขมิโย) ป.ธ.9
เจ้าอาวาสวัดเครือวัลย์ วรวิหาร
(10 มกราคม พ.ศ. 2548 - 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 (รักษาการ)
20 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 - ปัจจุบัน)
ดำรงตำแหน่งอยู่