สนามกีฬาในร่มแห่งชาติโยโยงิ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สนามกีฬาในร่มแห่งชาติโยโยงิ
สนามกีฬาในร่มหลัก พ.ศ. 2563
แผนที่
ที่ตั้งสวนโยโยงิ เขตชิบูยะ โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น
พิกัด35°40′03″N 139°42′01″E / 35.66750°N 139.70028°E / 35.66750; 139.70028พิกัดภูมิศาสตร์: 35°40′03″N 139°42′01″E / 35.66750°N 139.70028°E / 35.66750; 139.70028
ขนส่งมวลชนโตเกียวเมโทร (ที่สถานีรถไฟเมจิ จิงงูมาเอะ):
โตเกียวเมโทรสายชิโยดะ
โตเกียวเมโทรสายฟูกูโตชิง
บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันออก:
JY สายยามาโนเตะ ที่สถานีรถไฟฮาราจูกุ
เจ้าของสภาการกีฬาแห่งญี่ปุ่น
ความจุ13,291 ที่นั่ง
3,202 ที่นั่ง (สนามกีฬาในร่มแห่งชาติโยโยงิ 2)
ขนาดสนาม41 x 49.50 เมตร
การก่อสร้าง
ลงเสาเข็มกุมภาพันธ์​ พ.ศ. 2506
เปิดใช้สนามพ.ศ. 2507
สถาปนิกเค็งโซ ทังเงะ
การใช้งาน
ภายในสนามกีฬาในร่ม

สนามกีฬาในร่มแห่งชาติโยโยงิ หรือ โยโยงิ (ญี่ปุ่น: 国立代々木競技場โรมาจิKokuritsu Yoyogi Kyōgi-jō) เป็นสนามกีฬาในร่ม มีบริเวณตั้งที่สวนโยโยงิ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ออกแบบโดย เค็งโซ ทังเงะ ก่อสร้างในช่วงปี พ.ศ. 2504 – 2507 เคยใช้แข่งขันกีฬาว่ายน้ำและกระโดดน้ำในโอลิมปิกฤดูร้อน 1964

สนามกีฬาในร่มแห่งชาติโยโยงิมีความจุ 13,291 ที่นั่ง ปัจจุบัน ใช้แข่งขันบาสเกตบอลและฮอกกีน้ำแข็ง และจะใช้เป็นสนามแข่งขันแฮนด์บอล ในโอลิมปิกฤดูร้อน 2020

สนามกีฬาในร่มโยโยงิที่ 2[แก้]

สนามกีฬาในร่มโยโยงิที่ 2

มีความจุทั้งหมด 3,202 ที่นั้ง ออกแบบมาเพื่อใช้แข่งบาสเกตบอล เคยใช้เป็นสถานที่จัดแข่งขันมวยสากลชิงแชมป์โลกในปี พ.ศ. 2557 การป้องกันตำแหน่งแชมป์โลกสภามวยโลก (WBC) รุ่นฟลายเวท ระหว่าง อากิระ ยาเองาชิ เจ้าของตำแหน่งชาวญี่ปุ่น กับ โรมัน กอนซาเลซ ผู้ท้าชิงชาวนิการากัว และการป้องกันตำแหน่งแชมป์โลก WBC รุ่นไลท์ฟลายเวท ระหว่าง นาโอยะ อิโนอูเอะ เจ้าของตำแหน่งชาวญี่ปุ่น กับ สามารถเล็ก ก่อเกียรติยิม ผู้ท้าชิงชาวไทย[1]

อ้างอิง[แก้]

  1. "ต้านไม่ไหว! 'สามารถเล็ก' พ่ายน็อกนักชกยุ่นยก 11". ไทยรัฐออนไลน์. 5 September 2014. สืบค้นเมื่อ 18 October 2020.

พิกัดภูมิศาสตร์: 35°40′03″N 139°42′01″E / 35.66750°N 139.70028°E / 35.66750; 139.70028{{#coordinates:}}: ไม่สามารถมีป้ายกำกับหลักมากกว่าหนึ่งป้ายต่อหน้าได้