สถาปัตยกรรมสตาลิน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อาคารกลาง มหาวิทยาลัยรัฐมอสโก

สถาปัตยกรรมสตาลิน [1] หรือที่รู้จักในรัฐอดีตบล็อกตะวันออกว่า ศิลปะสตาลิน (รัสเซีย: Сталинский, อักษรโรมัน: Stalinskiy) หรือ ลัทธิคลาสสิกแบบสังคมนิยม (Socialist Classicism) เป็นสถาปัตยกรรมของสหภาพโซเวียตภายใต้โจเซฟ สตาลิน ตั้งแต่ปี 1933 ถึง 1955 สถาปัตยกรรมแบบสตรลินเกี่ยวข้องมากกับรูปแบบศิลปะแบบสัจนิยมสังคมนิยม

โครงสร้างส่วนใหญ่สร้างขึ้นโดยใช้ผนังสตักโคเปียก และใช้อิฐก่ออย่างง่าย อาคารขนาดกลางและใหญ่มักใช้คอนกรีต เช่น พี่น้องสาวทั้งเจ็ดแห่งมอสโก การตกแต่งภายนอกด้วยกระเบื้องเคลือบเริ่มมีในตอนต้นของทศวรรษ 1950s,[2] แต่ไม่พบมากนอกมอสโก[3]

อ้างอิง[แก้]

  1. รัสเซีย: ста́линский stalinskiy – Stalin's Empire style or รัสเซีย: ста́линский неоренесса́нс stalinskiy neorenessans – Stalin's Neo-renaissance
  2. "The Skyscraper", Fortune, July–August 1930
  3. Kuchino Ceramic Plant was built specifically for the 1947 Skyscraper Project; Russian:Moscow Skyscrapers

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • Architecture of The Stalin Era, by Alexei Tarkhanov (Collaborator), Sergei Kavtaradze (Collaborator), Mikhail Anikst (Designer), 1992, ISBN 978-0-8478-1473-2
  • Architecture in the Age of Stalin: Culture Two, by Vladimir Paperny (Author), John Hill (Translator), Roann Barris (Translator), 2002, ISBN 978-0-521-45119-2
  • The Edifice Complex: How the Rich and Powerful Shape the World, by Deyan Sudjic, 2004, ISBN 978-1-59420-068-7