สถานีรถไฟฟ้าร้างในรถไฟฟ้าปารีส

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

สถานีรถไฟฟ้าผีในรถไฟฟ้าปารีส เป็นสถานีรถไฟฟ้าในกรุงปารีส ที่ปิดบริการหรือไม่ใช้งานอีกต่อไป โดยการปิดทำการนั้นมาจากหลายสาเหตุ เหตุผลหลักที่ปิดทำการ เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามโลกครั้งที่สอง

สถานีที่ไม่เปิดใช้งาน[แก้]

สถานี Haxo ที่ไม่มีทางออกจากสถานี

มีสถานีรถไฟฟ้า 2 สถานี ที่ทำการก่อสร้างแต่ไม่เปิดใช้งาน ได้แก่สถานี Porte Molitor และ Haxo[1][2] โดยเปิดให้บริการเฉพาะกรณีพิเศษ เช่น การถ่ายทำภาพยนตร์สยองขวัญ เป็นต้น

สถานี Porte Molitor ก่อสร้างในปี ค.ศ. 1923 ในสาย 9 และ 10 เพื่อเชื่อมต่อกับสนามกีฬา Parc des Princes และ Roland Garros[1][2] แต่โครงการค่อนข้างซับซ้อน และยุ่งยาก แม้ว่าจะก่อสร้างเสร็จแล้ว แต่ไม่เปิดบริการ[3]

อุโมงค์พิเศษ voie des Fêtes ระหว่างสถานี Place des Fêtes และ Porte des Lilas มีสถานีร้างชื่อว่า Haxo ก่อสร้างในปี ค.ศ. 1921[4] โดยจะเชื่อมต่อระหว่างสาย 3 และสาย 7 (ซึ่งในปัจจุบันคือสาย 3 (2) และสาย 7 (2)) อย่างไรก็ตาม สถานีนี้ไม่เคยเปิดให้บริการเลย[5]

สถานีที่ปิดทำการและเปิดใหม่อีกครั้ง[แก้]

สถานี Croix-Rouge เป็นสถานีปลายทางของสาย 10 จนถึงปี ค.ศ. 1939
สถานี Porte des Lilas - Cinéma ที่เปิดใช้งานในกรณีพิเศษ

สถานี Varenne (สาย 13) เปิดทำการอีกครั้งในวันที่ 24 ธันวาคม 1962 ตามด้วยสถานี Bel-Air (สาย 6) ในวันที่ 7 มกราคม 1963[6] สถานีแรน (สาย 12) และสถานี Liège (สาย 13) เปิดทำการอีกครั้งในวันที่ 20 พฤษภาคม 1968 และ 16 กันยายน 1968 ตามลำดับ[6][7]โดยสถานีเหล่านี้ไม่เปิดทำการในวันอาทิตย์และวันหยุด[7]

สถานีที่ปิดทำการ[แก้]

สถานีที่ถูกยุบรวม[แก้]

สถานีนำกลับมาใช้ใหม่[แก้]

สถานีที่ถูกย้ายที่ตั้ง[แก้]

สถานีถูกทิ้งร้าง[แก้]

หมายเหตุ[แก้]

  1. 1.0 1.1 Patat, Jean-Christophe. "Le metro secret de Paris: la station Molitor" [Paris' secret metro: Molitor Station] (ภาษาฝรั่งเศส). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-03-05. สืบค้นเมื่อ March 28, 2010.
  2. 2.0 2.1 "Le métro inattendu / Stations fantômes" [The Unexpected Métro / Ghost Stations]. le métro parisien (ภาษาฝรั่งเศส). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-02-15. สืบค้นเมื่อ March 29, 2010.
  3. Lamming, 2001
  4. "Les stations oubliées" [The Forgotten Stations]. SYMBIOZ (ภาษาฝรั่งเศส). สืบค้นเมื่อ April 4, 2010.
  5. Patat, Jean-Christophe. "Le Metro Secret de Paris : Haxo" [Paris' Secret Metro: Haxo] (ภาษาฝรั่งเศส). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-03-05. สืบค้นเมื่อ March 29, 2010.
  6. 6.0 6.1 "Paris Metro Maps: timeline". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-11-14. สืบค้นเมื่อ April 4, 2010.
  7. 7.0 7.1 "Une histoire belge - 1er septembre 2004" [A Belgian Story - September 1, 2004] (ภาษาฝรั่งเศส). September 1, 2004. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2004-09-02. สืบค้นเมื่อ April 4, 2010.

อ้างอิง[แก้]

  • Guerrand, Roger-Henri (1999). L'aventure du métropolitain [The Métropolitain Adventure] (ภาษาฝรั่งเศส). Paris: La découverte. ISBN 2-7071-1642-4.
  • Hallsted-Baumert, Sheila; Gasnault, François; Zuber, Henri (1997). Métro-Cité : le chemin de fer métropolitain à la conquête de Paris, 1871–1945 (ภาษาฝรั่งเศส). Régie autonome des transports parisiens, Archives de Paris. Paris: musées de la ville de Paris. ISBN 2-87900-374-1.
  • Lamming, Clive (2001). Métro insolite [Unusual Métro] (ภาษาฝรั่งเศส). Paris: Parigramme. ISBN 2-84096-190-3.
  • Robert, Jean (1983). Robert, Jean (บ.ก.). Notre Métro [Our Métro] (ภาษาฝรั่งเศส) (2nd ed.). Paris.
  • Tricoire, Jean. La Vie du Rail (บ.ก.). Un siècle de métro en 14 lignes. De Bienvenüe à Météor [A Century of Métro in 14 Lines. From Bienvenüe to Météor] (ภาษาฝรั่งเศส). Paris: La vie du rail. ISBN 2-902808-87-9.
  • Zuber, Henri (1996). Le patrimoine de la RATP [The Heritage of the RATP] (ภาษาฝรั่งเศส). Charenton-le-Pont: Flohic éditions. ISBN 2-84234-007-8.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]