สงครามดาร์ฟูร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สงครามดาร์ฟูร์
ส่วนหนึ่งของ สงครามกลางเมืองซูดาน

สถานการณ์ทางทหารในซูดานเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2560 (ดาร์ฟูร์อยู่ทางซ้ายสุด)
  ครอบครองโดยรัฐบาลซูดานและพันธมิตร
  ครอบครองโดย Sudan Revolutionary Front และพันธมิตร
  ครอบครองโดย Sudanese Awakening Revolutionary Council
วันที่26 กุมภาพันธ์ 2546 – 31 สิงหาคม 2563
(16 ปี 11 เดือน 3 สัปดาห์ 6 วัน)
สถานที่
สถานะ

ทางตัน

คู่สงคราม

SRF

SARC (เริ่มจากปี 2557)
Supported by:
 ซูดานใต้[2]
 ชาด (2548–2553)
 เอริเทรีย (จนถึง 2551)
 ลิเบีย (จนถึง 2554)[3]

 ยูกันดา (จนถึง 2558)[4]

ซูดาน รัฐบาลซูดาน

Janjaweed
สนับสนุนโดย:
 จีน
Armament support:

 อิหร่าน (จนถึง 2559)
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
Ahmed Diraige
Khalil Ibrahim 
Gibril Ibrahim
Abdul Wahid al Nur
Minni Minnawi
ซูดาน อุมัร อัลบะชีร
ซูดาน Musa Hilal
ซูดาน Hamid Dawai
ซูดาน Ali Kushayb
ซูดาน Ahmed Haroun[5]
หน่วยที่เกี่ยวข้อง

SLA

Sudanese Armed Forces

กำลัง

SRF: 60,000

SAF: 109,300[9][10]
RSF: 17,500[9]
Janjaweed: <25,000
ความสูญเสีย

ผู้เสียชีวิตรวม:
300,000 (ประมาณโดย สหประชาชาติ)
10,000 (ประมาณโดย รัฐบาลซูดาน)[11]


ผู้พลัดถิ่นรวม:
2,850,000-3,000,000[12] (ประมาณโดย สหประชาชาติ)

450,000 (ประมาณโดย รัฐบาลซูดาน)

สงครามดาร์ฟูร์ หรือที่ประธานาธิบดีสหรัฐ จอร์จ ดับเบิลยู. บุช เรียกว่า การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ที่ดาร์ฟูร์ (อังกฤษ: Darfur Genocide[13]) เป็นสงครามที่เกิดขึ้นในดินแดนดาร์ฟูร์ ทางตะวันตกของประเทศซูดาน ซึ่งสงครามคราวนี้แตกต่างจาก สงครามกลางเมืองซูดานครั้งที่ 2 โดยที่สงครามนี้เกิดจากความขัดแย้งด้านชนชาติและชนเผ่า ในขณะที่สงครามก่อนหน้าเกิดจากความขัดแย้งด้านศาสนา[14] ความขัดแย้งนี้เริ่มต้นเมื่อ กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546

ค่ายอพยพดาร์ฟูร์ในประเทศชาด













อ้างอิง[แก้]

  1. "Darfur Peace Agreement - Doha draft" (PDF). Sudan Tribune.
  2. "Al Bashir threatens to 'disarm Darfur rebels' in South Sudan". Radio Dabanga (ภาษาอังกฤษ). 29 April 2015.
  3. https://www.youtube.com/watch?v=iQbSEifJvb4 Sudan adjusting to post-Gaddafi era
  4. <http://www.bloomberg.com/news/articles/2015-02-13/uganda-signals-diplomatic-breakthrough-with-sudan-over-rebels>
  5. "Sudan: Application for summonses for two war crimes suspects a small but significant step towards justice in Darfur | Amnesty International". Amnesty.org. 27 February 2007. สืบค้นเมื่อ 24 March 2010.
  6. "Sudan, two rebel factions discuss ways to hold peace talks on Darfur conflict". Sudan Tribune. 5 June 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-06-06. สืบค้นเมื่อ 2016-12-03.
  7. "Series of explosions at weapons cache rock town in West Kordofan". Sudan Tribune. 6 June 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-06-06. สืบค้นเมื่อ 2016-12-03.
  8. "Who are Sudan's Jem rebels?" Al Jazeera
  9. 9.0 9.1 Military Balance 2007, 293.
  10. "Sudan Military Strength". GFP. สืบค้นเมื่อ 27 March 2014.
  11. "Darfur Conflict". Thomson Reuters Foundation. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-05-24. สืบค้นเมื่อ 2016-12-03.
  12. "Sudan". United to End Genocide. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-07-13. สืบค้นเมื่อ 2016-12-03.
  13. Transcript of BBC interview with President George W. Bush
  14. USA Today

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]