ศุกร์ทมิฬ
ศุกร์ทมิฬ | |
---|---|
เป็นส่วนหนึ่งของ การปฏิวัติอิสลาม | |
สถานที่ | เตหะราน ประเทศอิหร่าน |
วันที่ | 8 กันยายน ค.ศ. 1978 (GMT+3.30) |
ตาย | 64 คน [1] หรือ 94 คน (เจ้าหน้าที่ความมั่นคง 30 คน และผู้ประท้วง 64 คน)[2] หรือไมเกินละร้อยคน (88 คน[3][4][5][6][7][8]) |
เจ็บ | 205 คน[7] |
ผู้ก่อเหตุ | กองทัพจักรพรรดิอิหร่าน โกลอมแอลี โอเวย์ซี ผู้ว่าราชการในเตหะราน |
ศุกร์ทมิฬ (เปอร์เซีย: جمعه سیاه, อักษรโรมัน: Jom'e-ye Siyāh, Black Friday) เป็นชื่อของเหตุการณ์ในวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1978 (พ.ศ. 2521) (17 แชฮ์รีแวร์ 1357 ตามปฏิทินของอิหร่าน) ในประเทศอิหร่าน[9] ซึ่งประชาชน 64 คนหรือไม่น้อยกว่าร้อย[10][11] ถูกฆ่าและถูกสังหารอย่างโหดร้ายทารุณและมีผู้บาดเจ็บกว่า 205 คนโดยทหารของกองทัพรัฐบาลอิหร่าน (Imperial Iranian Army) ในจัตุรัสจาเลห์ (เปอร์เซีย: میدان ژاله, อักษรโรมัน: Meydān-e Jāleh) ในกรุงเตหะราน[12][13][14] ซึ่งตามข้อมูลนักประวัติศาสตร์ทางทหารสเปนเซอร์ ซี. ทักเกอร์ซึ่งมีกล่าวว่าประชาชน 64 คนถูกสังหารอย่างโหดเหี้ยมซึ่งมีผู้ประท้วง 64 คนและเจ้าหน้าความมั่นคง 30 คนถูกสังหารเช่นกันการเสียชีวิตของประชาชนถูกอธิบายว่าเป็นเหตุการณ์สำคัญของการปฏิวัติอิสลามที่ยุติความหวังและการประนีประนอมใดๆ ทั้งสิ้นของระบอบการปกครองของพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี[15]
แหล่งอ้างอิง
[แก้]- ↑ Foltz, Richard (2016). Iran in World History. Oxford University Press. p. 108.
- ↑ Tucker, Spencer C. (2017). The Roots and Consequences of Civil Wars and Revolutions: Conflicts that Changed World History. ABC-CLIO. p. 439.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อBaghi
- ↑ Shakman Hurd, Elizabeth (2009). The Politics of Secularism in International Relations (ภาษาอังกฤษ). Princeton University Press. ISBN 978-1400828012.
- ↑ Berg-Sørensen, Anders (2016). Contesting Secularism: Comparative Perspectives (ภาษาอังกฤษ). Routledge. ISBN 9781317160243.
- ↑ Thiessen, Mark (2008). An Island of Stability: The Islamic Revolution of Iran and the Dutch Opinion (ภาษาอังกฤษ). Sidestone Press. ISBN 9789088900198.
- ↑ 7.0 7.1 "Emad Baghi :: English". emadbaghi.com. สืบค้นเมื่อ 2018-09-08.
- ↑ Andrew Scott Cooper,The Fall of Heaven: The Pahlavis and the Final Days of Imperial Iran Hardcover – 19 July 2016 ISBN 0805098976
- ↑ Ervand Abrahamian (1983). Iran between two revolutions. Internet Archive. Princeton University Press. ISBN 978-0-691-10134-7.
- ↑ https://www.brookings.edu/blog/order-from-chaos/2019/01/24/the-iranian-revolution-a-timeline-of-events/
- ↑ "Timeline of the Iranian revolution". Reuters (ภาษาอังกฤษ). 2019-02-11. สืบค้นเมื่อ 2022-08-09.
- ↑ Bashiriyeh, Hossein (2012-04-27). The State and Revolution in Iran (RLE Iran D) (ภาษาอังกฤษ). Taylor & Francis. ISBN 978-1-136-82089-2.
- ↑ Fischer, Michael M. J. (2003-07-15). Iran: From Religious Dispute to Revolution (ภาษาอังกฤษ). Univ of Wisconsin Press. ISBN 978-0-299-18473-5.
- ↑ NEWS, TOJO. "8 กันยายน 2521 วันศุกร์ทมิฬของอิหร่าน เมื่อผู้ชุมนุมประท้วงถูกกราดยิงโดยทหารของกองทัพ | TOJO NEWS". LINE TODAY.
- ↑ Abrahamian, Ervand, History of Modern Iran, Cambridge University Press, 2008, p. 160–1