ศาสนาอิสลามในประเทศเช็กเกีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ศาสนาอิสลามในทวีปยุโรป
ตามจำนวนร้อยละของประชากรประเทศ[1]
  90–100%
  70–80%
คาซัคสถาน
  50–70%
  30–50%
มาซิโดเนียเหนือ
  10–20%
  5–10%
  4–5%
  2–4%
  1–2%
  < 1%
มัสยิดเบอร์โนในประเทศเช็กเกีย

มีมุสลิมอาศัยอยู่ในประเทศเช็กเกียประมาณ 20,000 คน เทียบเท่า 0.2% ของประชากรทั้งประเทศ[2] โดยมีชุมชนตุรกีเป็นประชากรมุสลิมที่มีจำนวนมากที่สุดของประเทศ[3]

รายงานจากสำมะโน ค.ศ. 2010 มีมุสลิมในประเศเช็กเกียประมาณ 3,500 คน (น้อยกว่า 0.1% ของประชากรทั้งประเทศ) เมื่อเทียบกับ 495 คนใน ค.ศ. 1991

ในเช็กเกียมีมัสยิดสามแห่งที่ปราก เบอร์โน และหนึ่งแห่งที่การ์โลวีวารี

ประวัติ[แก้]

เอกสารแรกของบุคคลที่มีความรู้เกี่ยวกับศาสนาอิสลามเขียนขึ้นใน ค.ศ. 964-965 โดยอิบรอฮีม อิบน์ ยะอ์กูบ พ่อค้าชาวยิวจากสเปนของมุสลิม บันทึกความทรงจำของเขาได้รับการตีพิมพ์ในภายหลัง เพื่อเป็นหนึ่งในเรื่องราวแรก ๆ เกี่ยวกับยุโรปกลางในโลกอิสลาม

ในช่วงการล้อมเวียนนาสองครั้ง ฝ่ายสงครามลาดตระเวนของกองทัพออตโตมันที่กำลังจะมาถึง เดินทางถึงมอเรเวีย ความสัมพันธ์ทางการค้าที่แข็งแกร่งระหว่างออสเตรีย-ฮังการีกับจักรวรรดิออตโตมันเกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 19 มุสลิมในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 เริ่มเข้ามาตั้งถิ่นฐานในดินแดนเช็กหลังบอสเนียกลายเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี[4]

เดิมทีอิทธิพลของศาสนาอิสลามต่อวัฒนธรรมในดินแดนเช็กมีน้อย

สมัยใหม่[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Religious Composition by Country, 2010-2050". Pew Research Center. 12 April 2015. สืบค้นเมื่อ 22 October 2017.
  2. Europe's Growing Muslim Population [1], Pew Research Center, 2016.
  3. Tungul, Lucie (2020), "Turkish Community in the Czech Republic: A Diaspora in the Making?", Politics in Central Europe, 16 (2): 499, ...the position of Turkish migrants, the single largest Muslim community in the Czech Republic, in the specific context of the Czech Republic.
  4. Račius, Egdūnas (2018). Muslims in Eastern Europe. Edinburgh: Edinburgh University Press. p. 142. ISBN 978-1-4744-1579-8.
  • Miloš Mendel, Jiří Bečka, Islám a české země, Olomouc, Votobia, 1998. ISBN 80-7220-034-8
  • Miloš Mendel, Bronislav Ostřanský, Tomáš Rataj, Islám v srdci Evropy, Praha, Academia, 2008. ISBN 978-80-200-1554-9

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

(ข้อความทั้งหมดเป็นภาษาเช็ก)