ศาสนาอิสลามในประเทศตุรกี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ศาสนาอิสลามในทวีปยุโรป
ตามจำนวนร้อยละของประชากรประเทศ[1]
  90–100%
  70–80%
คาซัคสถาน
  50–70%
  30–50%
มาซิโดเนียเหนือ
  10–20%
  5–10%
  4–5%
  2–4%
  1–2%
  < 1%

ศาสนาอิสลาม เป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากที่สุดในประเทศตุรกี การปรากฏตัวของศาสนาอิสลามในภูมิภาคที่ปัจจุบันคือประเทศตุรกีสมัยใหม่สืบไปได้ถึงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 11 เมื่อเซลจุคเติร์กเริ่มขยายดินแดนไปยังอานาโตเลียตะวันออก[2]

ตามรายงานจากรัฐบาล ประชากรชาวตุรกี 99.8%[I]เป็นมุสลิม[3][4] เนื่องจากกลุ่มชาติพันธุ์ดั้งเดิมที่ไม่ใช่มุสลิมในตุรกี (เช่น ยิว, อาร์มีเนีย และกรีก) มีจำนวนไม่มากกว่า 0.2% ถึงแม้ว่าการสำรวจบางส่วนจะให้ค่าประมาณที่ต่ำกว่าเล็กน้อยที่ 96.2%[5] โดยสำนักคิดที่มีผู้นับถือมากที่สุดคือสำนักฮะนะฟีของนิกายซุนนี (ประมาณ 90% ของมุสลิมทุกสำนัก) ส่วนนิกายที่เหลือมีเพียงประมาณ 9%[6] จากประชากรมุสลิมทั้งหมด ได้แก่ อาเลวี, ญะอ์ฟะรี (1%)[7][8] และอะละวี (มีประชากรประมาณ 1 ล้านคน) ซึ่งเทียบเท่าประมาณ 1% ของประชากรมุสลิมในประเทศตุรกี[9][10] นอกจากนี้ยังมีชนกลุ่มน้อยที่นับถือนิกายศูฟีและไม่อิงนิกายใด ๆ[8][11] [12][13]

หมายเหตุ[แก้]

  1. อย่างไรก็ตาม ข้อมูลเหล่านี้อ้างอิงจากข้อมูลศาสนาที่มีอยู่ ซึ่งระบุอยู่บนบัตรประจำตัวประชาชนของพลเมืองทุกคน โดยส่งต่อจากผู้ปกครองไปยังเด็กแรกเกิดทุกคนโดยอัตโนมัติ และไม่จำเป็นต้องแสดงถึงการเลือกของแต่ละบุคคล นอกจากนี้ ใครก็ตามที่ไม่ได้ลงทะเบียนอย่างเป็นทางการว่าเป็นชาวคริสต์หรือยิวในช่วงก่อตั้งสาธารณรัฐ ก็จะถูกบันทึกเป็นมุสลิมโดยอัตโนมัติ และสิ่งนี้ได้ถูกส่งต่อไปยังคนรุ่นใหม่ ดังนั้น จำนวนอย่างเป็นทางการของชาวมุสลิมยังรวมถึงผู้ที่ไม่มีศาสนา ผู้ที่เปลี่ยนศาสนาจากอิสลามเป็นศาสนาอื่นที่ไม่ใช่อิสลาม และใครก็ตามที่นับถือศาสนาที่แตกต่างจากพ่อแม่ของพวกเขา แต่ยังไม่ได้สมัครขอเปลี่ยนแปลงบันทึกส่วนบุคคลของพวกเขา

อ้างอิง[แก้]

  1. "Religious Composition by Country, 2010-2050". Pew Research Center. 12 April 2015. สืบค้นเมื่อ 22 October 2017.
  2. Aktas, Vahap (2014-01-01). "Islamization of Anatolia and the Effects of Established Sufism (Orders)". The Anthropologist. 17 (1): 147–155. doi:10.1080/09720073.2014.11891424. ISSN 0972-0073. S2CID 55540974. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 November 2021. สืบค้นเมื่อ 27 October 2020.
  3. "Religions". CIA World Factbook. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 December 2018. สืบค้นเมื่อ 9 July 2016.
  4. "TURKEY" (PDF). Library of Congress: Federal Research Division. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 December 2018. สืบค้นเมื่อ 1 November 2010.
  5. "Country – Turkey". Joshua Project. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 March 2016. สืบค้นเมื่อ 27 April 2014.
  6. "Turkey: International Religious Freedom Report 2007". U.S. Department of State. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 December 2019. สืบค้นเมื่อ 22 September 2016.
  7. "Shi'a". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 January 2011. สืบค้นเมื่อ 12 August 2009.
  8. 8.0 8.1 "Pew Forum on Religious & Public life". pewforum.org. 2012-08-09. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 December 2016. สืบค้นเมื่อ 29 October 2013.
  9. "Syria strife tests Turkish Alawites | Turkey | al Jazeera". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 October 2018. สืบค้นเมื่อ 10 June 2016.
  10. Prochazka-Eisl, Gisela. "The Arabic speaking Alawis of the Çukurova: The transformation of a linguistic into a purely religious minority". Christiane Bulut: Linguistic Minorities in Turkey and Turkic-Speaking Minorities of the Peripheries, Harrassowitz (Wiesbaden) Forthcoming. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 November 2021. สืบค้นเมื่อ 6 April 2018.
  11. "Sufism". All about Turkey. 20 November 2006. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 June 2008. สืบค้นเมื่อ 1 November 2010.
  12. ÖZKÖK, Ertuğrul. "Türkiye artık yüzde 99'u müslüman olan ülke değil". www.hurriyet.com.tr (ภาษาตุรกี). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 May 2019. สืบค้นเมื่อ 2020-08-13.
  13. "Optimar'dan din-inanç anketi: Yüzde 89 Allah'ın varlığına ve birliğine inanıyor". T24.com.tr. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 March 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-04-04.

อ่านเพิ่ม[แก้]