ศานติบรรพ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ศานติบรรพ (อักษรโรมัน: Shanti Parva, สันสกฤต: शान्ति पर्व) แปลว่า "บรรพแห่งสันติ" เป็นหนังสือบรรพที่ 12 ของ มหาภารตะ ประกอบไปด้วย 3 บรรพย่อย รวมทั้งหมด 365 ตอน[1][2] [3][4] นับว่าเป็นบรรพที่ยาวที่สุดในมหากาพย์มหาภารตะ เป็นเรื่องราวของท้าวธฤตราษฎร์สละราชสมบัติ ยุธิษฐิระขึ้นครองราชสมบัติเมืองหัสตินาปุระแทน และรับคำสอนจากภีษมะก่อนที่ภีษมะจะละสังขาร[5]บรรพนี้มีเนื้อหาต่อเนื่องมาจาก สตรีบรรพ ส่วนบรรพต่อไปจากนี้คือ อนุศาสนบรรพ

เนื้อเรื่องและบรรพย่อย[แก้]

ศานติบรรพ ประกอบไปด้วย 3 บรรพย่อย รวมทั้งหมด 365 ตอน[2][1] ดังนี้

  1. ราชธรรมอนุศาสนบรรพ[2][6]
  2. อปัถธรรมอนุศาสนบรรพ[6]
  3. โมกษะธรรมบรรพ[2]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 Ganguli, K.M. (1883-1896) "Shanti Parva" in The Mahabharata of Krishna-Dwaipayana Vyasa (12 Volumes). Calcutta
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 Dutt, M.N. (1903) The Mahabharata (Volume 12): Shanti Parva. Calcutta: Elysium Press
  3. van Buitenen, J.A.B. (1973) The Mahabharata: Book 1: The Book of the Beginning. Chicago, IL: University of Chicago Press, pp 477-478
  4. Debroy, B. (2010) The Mahabharata, Volume 1. Gurgaon: Penguin Books India, pp xxiii - xxvi
  5. S. N. Mishra (2003). Public governance and decentralisation, Vol. 1. Mittal Publications. p. 935. ISBN 81-7099-918-9.
  6. 6.0 6.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ jm

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]