ปัญจมุขีหนุมานมนเทียร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก วิหารปัญจมุขีหนุมาน)
ศรีปัญจมุขีหนุมานมนเทียร
شری پنکھ مکھی ہنومان مندر
ศาสนา
ศาสนาศาสนาฮินดู
เขตการาจีตะวันออก
เทพปัญจมุขีหนุมาน
เทศกาลทิวาลี, โฮลี, หนุมานชยันตี
ที่ตั้ง
ที่ตั้งโซลเจอร์บะซาร์
รัฐสินธ์
ประเทศปากีสถาน ประเทศปากีสถาน
ปัญจมุขีหนุมานมนเทียรตั้งอยู่ในแคว้นสินธ์
ปัญจมุขีหนุมานมนเทียร
ที่ตั้งในแคว้นสินธ์
ปัญจมุขีหนุมานมนเทียรตั้งอยู่ในประเทศปากีสถาน
ปัญจมุขีหนุมานมนเทียร
ปัญจมุขีหนุมานมนเทียร (ประเทศปากีสถาน)
พิกัดภูมิศาสตร์24°51′38.2″N 67°01′14.1″E / 24.860611°N 67.020583°E / 24.860611; 67.020583
สถาปัตยกรรม
ประเภทโบสถ์พราหมณ์
เริ่มก่อตั้งประมาณ ค.ศ. 500
วัด1
เว็บไซต์
เว็บไซต์ทางการ

ศรีปัญจมุขีหนุมานมนเทียร เป็นโบสถ์พราหมณ์อายุ 1,500 ปีที่ตั้งอยู่ในโซลเจอร์บะซาร์ การาจี แคว้นสินธ์ ประเทศปากีสถาน[1] โดยเป็นโบสถ์พราหมณ์เดียวของโลกที่มีรูปปั้นตามธรรมชาติของหนุมาน[2] โบสถ์พราหมณ์นี้ได้รับการประกาศเป็นมรดกของชาติตามพระราชบัญญัติมรดกวัฒนธรรมแคว้นสินธ์ (การอนุรักษ์) ค.ศ. 1994[3]

ความสำคัญทางศาสนา[แก้]

ด้านข้างของโบสถ์พราหมณ์

เชื่อกันว่าในช่วงที่ถูกเนรเทศ พระรามเสด็จไปยังบริเวณที่โบสถ์นี้ตั้งอยู่ หลังจากนั้นไม่นาน ได้มีการขุดพบรูปปั้นของปัญจมุขีหนุมานจากสถานที่นั้นและสร้างโบสถ์พราหมณ์ขึ้นในจุดนั้น เชื่อกันว่าผู้ศรัทธาคนใดที่เดินวนรอบรูปปั้นปัญจมุขีหนุมานครบ 11 หรือ 21 รอบ คำขอก็จะสำเร็จตามความปรารถนา[4]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Diwali celebrations begin in Karachi Prayer services, ceremonies organised at temples across the city". Dawn. 27 October 2019. สืบค้นเมื่อ 20 September 2020.
  2. Rabia Ali (19 February 2012). "Recycling history: And all of Hanuman's men put this temple together again". Express Tribune. สืบค้นเมื่อ 20 September 2020.
  3. Naimat Khan (3 September 2019). "Centuries-old statues discovered at ancient Hindu temple in Karachi". Arab News. สืบค้นเมื่อ 20 September 2020.
  4. Shazia Hasan (10 March 2020). "Holi celebrated in Karachi". Dawn. สืบค้นเมื่อ 20 September 2020.