วิกิพีเดีย:การใช้กลุ่มแม่แบบสถานีรถไฟ
หัวข้อที่เกี่ยวข้อง[แก้]
ทั่วไป[แก้]
แม่แบบที่เกี่ยวข้อง[แก้]
- แม่แบบ:ป้ายสถานีรถไฟ
- แม่แบบ:รถไฟทางตรง
- แม่แบบ:ชุมทางขวา
- แม่แบบ:ชุมทางซ้าย
- แม่แบบ:ต้นทางรถไฟ
- แม่แบบ:ปลายทางรถไฟ
- แม่แบบ:จบป้ายสถานีรถไฟ
แนวคิด[แก้]
แนวคิดในการทำป้ายสถานีแบบใหม่นี้ เพื่อให้เกิดการแสดงผล ที่ใกล้เคียงกับสิ่งที่มีอยู่แล้วในโลกความเป็นจริง ทั้งนี้ เมื่อผู้อ่านได้เห็นป้ายในบทความของวิกี้ และเห็นป้ายในสถานที่จริง ก็จะเข้าใจในความหมายเดียวกัน
วิธีใช้[แก้]
วิธีใช้ป้ายสถานีรถไฟ2 (รุ่น 2)[แก้]
สำคัญ: รุ่นนี้ได้แตกออกมาจากป้ายสถานีรถไฟ เพื่อใช้ในการทดสอบความสามารถใหม่ และหากไม่มีปัญหาในการใช้งาน จะทำการแทนที่ป้ายเดิม คุณสมบัติที่ต่างจากเดิม:
- รวมป้ายดังนี้ไว้ในป้ายเดียวกันหมด: ป้ายสถานีรถไฟ (เดิม) ต้นทางสถานีรถไฟ รถไฟทางตรง ปลายทางสถานีรถไฟ จบป้ายสภานีรถไฟ
- ทำการตรวจสอบ และแสดงผลส่วนที่จำเป็นเท่านั้น (ส่วนหัวและส่วนท้ายเป็นส่วนบังคับที่จะแสดงตลอดเวลา)
- มีระบบควบคุม บวกลบโดยอัตโนมัติ ให้ใส่ กม. จริงทั้งในสถานีก่อนหน้านี้ และหลังจากนี้ โดยระบบจะทำการคำนวณ และแสดงส่วนต่างให้โดยอัตโนมัติ
- ให้ใส่ค่าดูเพิ่ม โดยใช้ตัวแปร "seealso"
โค้ดคำสั่งการใช้งานแบบครอบคลุม:
{{ป้ายสถานีรถไฟ2 <!--สถานีปัจจุบัน--> |name_th = |name_en = |distance = <!--สถานีก่อนหน้านี้--> |prev_th = |prev_en = |prev_distance = <!--สถานีหลังจากนี้--> |next_th = |next_en = |next_distance = <!--ดูเพิ่ม--> |seealso = }}
โปรดทราบ: เพียงแค่ใส่ข้อมูลในส่วนที่ต้องการแสดง หากไม่มีข้อมูลใส่ ป้ายจะไม่แสดงส่วนนั้นๆ ยกเว้นส่วนบังคับ
วิธีใช้พื้นฐาน[แก้]
- เริ่มต้นด้วย แม่แบบ:ป้ายสถานีรถไฟ
- จากนั้นใส่แม่แบบที่เกี่ยวข้องอย่างน้อยหนึ่งอย่างหรือมากกว่า
- ปิดท้ายด้วย แม่แบบ:จบป้ายสถานีรถไฟ ซึ่งต้องเลือกใช้เพียง 1 รูปแบบ จากทั้งหมดนี้เท่านั้น ไม่ควรเป็นอย่างอื่น
- {{จบป้ายสถานีรถไฟ|ย่านชานเมือง}} เลือกใช้ตัวเลือกนี้สำหรับ สถานีกรุงเทพ ถึง สถานีชุมทางบ้านภาชี
- {{จบป้ายสถานีรถไฟ|สายเหนือ}} เลือกใช้ตัวเลือกนี้สำหรับ ป้ายหยุดรถดอนหญ้านาง ถึง สวรรคโลก และเชียงใหม่
- {{จบป้ายสถานีรถไฟ|สายตะวันออกเฉียงเหนือ}} เลือกใช้ตัวเลือกนี้สำหรับ สถานีหนองกวย ถึง อุบลราชธานี และ หนองคาย
- {{จบป้ายสถานีรถไฟ|สายตะวันออก}} เลือกใช้ตัวเลือกนี้สำหรับ ป้ายหยุดรถอุรุพงษ์ ถึง บ้านพลูตาหลวง มาบตาพุด แหลมฉบัง อรัญประเทศ และ จากชุมทางคลองสิบเก้า ถึง ชุมทางแก่งคอย
- {{จบป้ายสถานีรถไฟ|สายแม่กลอง}} เลือกใช้ตัวเลือกนี้สำหรับ ทางรถไฟสายแม่กลอง
- {{จบป้ายสถานีรถไฟ|สายตะวันตก}} เลือกใช้ตัวเลือกนี้สำหรับ ที่หยุดรถสทล 10+375 ถึง สถานีบางบำหรุ และ สถานีบางกอกน้อย ถึง ชุมทางหนองปลาดุก สุพรรณบุรี น้ำตกไทรโยค และด่านพระเจดีย์สามองค์
- {{จบป้ายสถานีรถไฟ|สายใต้}} เลือกใช้ตัวเลือกนี้สำหรับ จากสถานีบ้านโป่ง จนถึง คีรีรัฐนิคม สุราษฎร์ธานี กันตัง ปาดังเบซาร์ และสุไหงโก-ลก
สถานีต้นทาง[แก้]
สถานีต้นทางนั้น ขอยกตัวอย่างมาจาก สถานีรถไฟบางกอกน้อย มีลักษณะการเขียนดังนี้
|
- เริ่มต้นด้วย แม่แบบ:ป้ายสถานีรถไฟ
{{ป้ายสถานีรถไฟ |name_th = บางกอกน้อย |name_en = Bangkok Noi |distance = 0.00 }}
- จากนั้นใส่แม่แบบที่เกี่ยวข้อง ในที่นี้คือ แม่แบบ:ต้นทางรถไฟ
{{ต้นทางรถไฟ |next_th = ธนบุรี |next_en = Thonburi |next_distance = 0.87 |note = (หมายเหตุสั้นๆ ถ้ามี) }}
- ปิดท้ายด้วย แม่แบบ:จบป้ายสถานีรถไฟ ในที่นี้เป็นรถไฟสายตะวันตก
{{จบป้ายสถานีรถไฟ|สายตะวันตก}}
สถานีปลายทาง[แก้]
คล้ายกับสถานีต้นทาง มีลักษณะการเขียนดังนี้ (ตัวอย่างจาก สถานีรถไฟคีรีรัฐนิคม)
|
- เริ่มต้นด้วย แม่แบบ:ป้ายสถานีรถไฟ
{{ป้ายสถานีรถไฟ |name_th = คีรีรัฐนิคม |name_en = Khiri Rattha Nikhom |distance = 662.00 }}
- จากนั้นใส่แม่แบบที่เกี่ยวข้อง ในที่นี้คือ แม่แบบ:ปลายทางรถไฟ
{{ปลายทางรถไฟ |prev_th = บ้านยาง |prev_en = Ban Yang |prev_distance = 4.00 }}
- ปิดท้ายด้วย แม่แบบ:จบป้ายสถานีรถไฟ ในที่นี้เป็นรถไฟสายใต้
{{จบป้ายสถานีรถไฟ|สายใต้}}
สถานีระหว่างทาง[แก้]
สถานีระหว่างทาง คือสถานีที่ไม่มีทางแยก ในที่นี้รวมถึงป้ายหยุดรถ ที่หยุดรถ และสถานีพิเศษ(ที่ไม่มีทางแยก) ด้วย (ตัวอย่าง: สถานีรถไฟหัวหิน)
|
- เริ่มต้นด้วย แม่แบบ:ป้ายสถานีรถไฟ
{{ป้ายสถานีรถไฟ |name_th = หัวหิน |name_en = Hua Hin |distance = 212.99 }}
- จากนั้นใส่แม่แบบที่เกี่ยวข้อง ในที่นี้คือ แม่แบบ:รถไฟทางตรง
{{รถไฟทางตรง |prev_th = ห้วยทรายใต้ |prev_en = Huai Sai Tai |prev_distance = 11.350 |next_th = หนองแก |next_en = Nong Kae |next_distance = 3.971 }}
- ปิดท้ายด้วย แม่แบบ:จบป้ายสถานีรถไฟ ในที่นี้เป็นรถไฟสายใต้
{{จบป้ายสถานีรถไฟ|สายใต้}}
สถานีชุมทาง แบบแยกต้นทาง[แก้]
คือมีต้นทางคนละที่ แต่มีปลายทางร่วมกัน (ตัวอย่าง: ป้ายหยุดรถไฟนิคมรถไฟ กม.11)
|
- เริ่มต้นด้วย แม่แบบ:ป้ายสถานีรถไฟ
{{ป้ายสถานีรถไฟ |name_th = นิคมรถไฟ กม.11 |name_en = Nikhom Rotphai Khomo Sip-et |distance = 11.01 }}
- จากนั้นใส่แม่แบบที่เกี่ยวข้อง ในที่นี้คือ แม่แบบ:ชุมทางซ้าย และ แม่แบบ:รถไฟทางตรง
{{ชุมทางซ้าย |intc_th = พหลโยธิน |intc_en = Phahoyothin |intc_distance = 3.54 }} {{รถไฟทางตรง |prev_th = ชุมทางบางซื่อ |prev_en = Bang Sue Junction |prev_distance = 3.54 |next_th = บางเขน |next_en = Bang Khen |next_distance = 1.99 }}
- ปิดท้ายด้วย แม่แบบ:จบป้ายสถานีรถไฟ ในที่นี้เป็นรถไฟย่านชานเมือง
{{จบป้ายสถานีรถไฟ|ย่านชานเมือง}}
สถานีชุมทาง แบบแยกปลายทาง[แก้]
คือมีต้นทางร่วมกัน แต่มีปลายทางคนละที่ ตรงข้ามกับหัวข้อที่แล้ว (ตัวอย่าง: สถานีรถไฟชุมทางบ้านภาชี)
หมายเหตุ ที่ชุมทางบ้านภาชี ถือว่าเส้นทางสายอีสานเป็นเส้นทางหลัก และแยกไปทางเหนือ เนื่องจากเปิดเดินรถสายอีสานก่อนสายเหนือ ส่วนการจัดเลขหมู่สถานี เพิ่งจะมาทำกันในภายหลัง
|
- เริ่มต้นด้วย แม่แบบ:ป้ายสถานีรถไฟ
{{ป้ายสถานีรถไฟ |name_th = ชุมทางบ้านภาชี |name_en = Ban Phachi Junction |distance = 89.95 }}
- จากนั้นใส่แม่แบบที่เกี่ยวข้อง ในที่นี้คือ แม่แบบ:ชุมทางขวา และ แม่แบบ:รถไฟทางตรง
{{ชุมทางขวา |intc_th = ดอนหญ้านาง |intc_en = Don Yha Nang |intc_distance = 5.63 }} {{รถไฟทางตรง |prev_th = พระแก้ว |prev_en = Phra Kaeo |prev_distance = 4.51 |next_th = หนองกวย |next_en = Nong Kuai |next_distance = 4.67 }}
- ปิดท้ายด้วย แม่แบบ:จบป้ายสถานีรถไฟ ในที่นี้เป็นรถไฟย่านชานเมือง
{{จบป้ายสถานีรถไฟ|ย่านชานเมือง}}
สถานีชุมทาง แบบผสม[แก้]
คือมีต้นทางต่างกัน และมีปลายทางคนละที่ (ตัวอย่าง: สถานีรถไฟชุมทางแก่งคอย)
|
- เริ่มต้นด้วย แม่แบบ:ป้ายสถานีรถไฟ
{{ป้ายสถานีรถไฟ |name_th = ชุมทางแก่งคอย |name_en = Kaeng Khoi Junction |distance = 125.10 }}
- จากนั้นใส่แม่แบบที่เกี่ยวข้อง ในที่นี้คือ แม่แบบ:รถไฟทางตรง สองครั้ง
{{รถไฟทางตรง |prev_th = หนองบัว |prev_en = Nong Bua |prev_distance = 5.86 |next_th = บ้านช่องใต้ |next_en = Ban Chong Tai |next_distance = 3.70 }} {{รถไฟทางตรง |prev_th = บุใหญ่ |prev_en = Bu Yai |prev_distance = 19.44 |next_th = ทับกวาง |next_en = Thap Kwang |next_distance = 6.14 }}
- ปิดท้ายด้วย แม่แบบ:จบป้ายสถานีรถไฟ ในที่นี้เป็นรถไฟสายอีสาน
{{จบป้ายสถานีรถไฟ|สายตะวันออกเฉียงเหนือ}}
สถานีชุมทาง แบบแยกปลายทาง มากกว่า 2ทางแยก[แก้]
คือมีต้นทางร่วมกัน แต่มีปลายทางคนละที่ มากกว่า 2 ทาง (ลักษณะแบบส้อม) ให้ใช้ลักษณะของชุมทางขวาผสมกับสถานีต้นทาง (ตัวอย่าง: สถานีรถไฟชุมทางหนองปลาดุก)
|
- เริ่มต้นด้วย แม่แบบ:ป้ายสถานีรถไฟ
{{ป้ายสถานีรถไฟ |name_th = ชุมทางหนองปลาดุก |name_en = Nong Pla Duk Junction |distance = 64.19 }}
- จากนั้นใส่แม่แบบที่เกี่ยวข้อง ในที่นี้คือ แม่แบบ:ชุมทางขวา แม่แบบ:รถไฟทางตรง และ แม่แบบ:ต้นทางรถไฟ (นำมาประยุกต์)
{{ชุมทางขวา |intc_th = บ้านโป่ง |intc_en = Ban Pong |intc_distance = 4.03 }} {{รถไฟทางตรง |prev_th = คลองบางตาล |prev_en = Khlong Ban Tan |prev_distance = 5.22 |next_th = ถนนทรงพล |next_en = Thanon Songpol |next_distance = 3.71 }} {{ต้นทางรถไฟ |next_th = ยางประสาท |next_en = Yang Prasat |next_distance = 7.41 }}
- ปิดท้ายด้วย แม่แบบ:จบป้ายสถานีรถไฟ ในที่นี้เป็นรถไฟสายตะวันตก
{{จบป้ายสถานีรถไฟ|สายตะวันตก}}