วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี 2003

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี 2003
รายละเอียด
ประเทศเจ้าภาพ ไทย
วันที่6–14 กันยายน ค.ศ. 2003
ทีม16
สถานที่2 (ยิมเนเซียมศิลปอาชา และ ยิมเนเซียมเจ้าพระ(ใน จังหวัดสุพรรณบุรี เมืองเจ้าภาพ)
ชนะเลิศธงชาติบราซิล บราซิล (สมัยที่ 4)
เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ
fivb.org

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี 2003 (อังกฤษ: 2003 FIVB Volleyball Women's U20 World Championship) ได้มีการจัดขึ้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี ประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 6–14 กันยายน พ.ศ. 2546 รายการนี้เป็นการแข่งขันที่มีทีมเข้าร่วมถึง 16 ทีม

ประเทศที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย[แก้]

สมาพันธ์ วิธีการคัดเลือก วันที่ สถานที่ จำนวน ผ่านการคัดเลือก
FIVB เจ้าภาพ 10 กรกฎาคม 2003 1  ไทย
ซีเอสวี ชิงแชมป์หญิงอเมริกาใต้ รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี 2002 8–12 พฤษภาคม 2002 โบลิเวีย ลาปาซ, โบลิเวีย 2  บราซิล
 เวเนซุเอลา
ซีอีวี ชิงแชมป์หญิงยุโรป รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี 2002 22–25 พฤษภาคม 2002 โครเอเชีย ซาเกร็บ, โครเอเชีย 1  โปแลนด์
เอวีซี ชิงแชมป์หญิงเอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี 2002 1–8 กันยายน 2002 เวียดนาม นครโฮจิมินห์, เวียดนาม 3  จีน
 จีนไทเป
 เกาหลีใต้
ซีเอวีบี ชิงแชมป์หญิงแอฟริกา รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี 2002 9–14 กันยายน 2002 ตูนิเซีย ซิดิบูซะอีด, ตูนิเซีย 1  แอลจีเรีย
นอร์เซกา ชิงแชมป์หญิงนอร์เซกา รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี 2002 13–19 กันยายน 2002 ปวยร์โตรีโก อูมากาโอ, ปวยร์โตรีโก 2  ปวยร์โตรีโก
 คิวบา
ซีอีวี รอบคัดเลือกชิงแชมป์หญิงยุโรป รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี 2003 22–25 พฤษภาคม 2003 โครเอเชีย ซาเกร็บ, โครเอเชีย 6  ยูเครน
โรมาเนีย เบรลา, โรมาเนีย  เบลารุส
สโลวาเกีย บาร์เดโยว์, สโลวาเกีย  เนเธอร์แลนด์
ตุรกี อิสตันบูล, ตุรกี  เยอรมนี
 ตุรกี*
อิตาลี มอนเตซีลวาโน, อิตาลี  รัสเซีย
รวม 16
  • ตุรกีผ่านเข้ารอบจากอันดับที่สองของกลุ่มที่ดีที่สุด ในรอบคัดเลือกวอลเลย์บอลหญิงยุโรป รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี 2003

สถานที่จัดการแข่งขัน[แก้]

สนามกีฬา ยิมเนเซียมศิลปอาชา ยิมเนเซียมเจ้าพระ
ภาพถ่าย
เมือง จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี
ความจุ 5,000 ที่นั่ง 2,000 ที่นั่ง

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

16 ทีมจะได้รับการแบ่งออกเป็น 4 สาย ๆ ละ 4 ทีมโดยแต่ละสายจะทำการแข่งขันแบบพบกันหมด[1]

กลุ่ม A กลุ่ม B กลุ่ม C กลุ่ม D

 ไทย
 เนเธอร์แลนด์
 เวเนซุเอลา
 แอลจีเรีย

 รัสเซีย
 เกาหลีใต้
 ปวยร์โตรีโก
 เบลารุส

 จีน
 เยอรมนี
 ยูเครน
 จีนไทเป

 คิวบา
 บราซิล
 โปแลนด์
 ตุรกี

รอบคัดเลือก[แก้]

เวลามาตรฐานไทย (UTC+07:00)

กลุ่ม เอ[แก้]

แต้ม แข่ง เซต แต้ม
อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1 ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 6 3 0 9 0 MAX 226 147 1.537
2 ธงชาติเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา 5 2 1 6 6 1.000 252 263 0.958
3 ธงชาติไทย ไทย 4 1 2 5 7 0.714 239 263 0.909
4 ธงชาติแอลจีเรีย แอลจีเรีย 3 0 3 2 9 0.222 216 260 0.831
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม
6 กันยายน   เนเธอร์แลนด์  3–0  เวเนซุเอลา 25–21 25–22 25–9     75–52 P2
6 กันยายน   ไทย  3–1  แอลจีเรีย 25–13 25–21 16–25 25–22   91–81 P2
7 กันยายน   เวเนซุเอลา  3–1  แอลจีเรีย 25–22 19–25 25–20 25–21   94–88 P2
7 กันยายน   เนเธอร์แลนด์  3–0  ไทย 25–11 26–24 25–13     76–48 P2
8 กันยายน   แอลจีเรีย  0–3  เนเธอร์แลนด์ 20–25 9–25 18–25     47–75 P2
8 กันยายน   ไทย  2–3  เวเนซุเอลา 25–22 25–19 17–25 22–25 11–15 100–106 P2

กลุ่ม บี[แก้]

แต้ม แข่ง เซต แต้ม
อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1 ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย 5 2 1 8 4 2.000 275 245 1.122
2 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 5 2 1 8 5 1.600 277 254 1.091
3 ธงชาติเบลารุส เบลารุส 5 2 1 7 6 1.167 268 266 1.008
4 ธงชาติปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก 3 0 3 1 9 0.111 171 246 0.695
วันที่ คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม
6 กันยายน ปวยร์โตรีโก  0–3  เกาหลีใต้ 20–25 18–25 13–25     51–75
6 กันยายน เบลารุส  1–3  รัสเซีย 18–25 27–25 22–25 22–25   89–100
7 กันยายน ปวยร์โตรีโก  1–3  เบลารุส 25–20 10–25 9–25 22–25   66–95
7 กันยายน เกาหลีใต้  3–2  รัสเซีย 23–25 25–14 25–21 13–25 16–14 102–99
8 กันยายน รัสเซีย  3–0  ปวยร์โตรีโก 25–15 26–24 25–15     76–54
8 กันยายน เบลารุส  3–2  เกาหลีใต้ 15–25 25–20 24–26 25–20 15–9 104–100

กลุ่ม ซี[แก้]

แต้ม แข่ง เซต แต้ม
อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 6 3 0 9 2 4.500 263 219 1.201
2 ธงชาติจีน จีน 5 2 1 6 3 2.000 215 183 1.175
3 ธงชาติยูเครน ยูเครน 4 1 2 5 7 0.714 237 267 0.888
4 ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป 3 0 3 1 9 0.111 200 246 0.813
วันที่ คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม
6 กันยายน ยูเครน  0–3  จีน 16–25 20–25 14–25     50–75
6 กันยายน เยอรมนี  3–0  จีนไทเป 25–17 25–21 26–24     76–62
7 กันยายน ยูเครน  2–3  เยอรมนี 20–25 25–23 25–21 14–25 8–15 92–108
7 กันยายน จีน  3–0  จีนไทเป 25–18 25–16 25–20     75–54
8 กันยายน เยอรมนี  3–0  จีน 25–16 25–22 29–27     79–65
8 กันยายน จีนไทเป  1–3  ยูเครน 21–25 22–25 25–20 16–25   84–95

กลุ่ม ดี[แก้]

แต้ม แข่ง เซต แต้ม
อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1 ธงชาติบราซิล บราซิล 6 3 0 9 1 9.000 244 205 1.190
2 ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์ 5 2 1 6 4 1.500 234 206 1.136
3 ธงชาติตุรกี ตุรกี 4 1 2 4 7 0.571 242 241 1.004
4 ธงชาติคิวบา คิวบา 3 0 3 2 9 0.222 201 269 0.747
วันที่ คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม
6 กันยายน โปแลนด์  3–0  ตุรกี 25–14 25–22 25–20     75–56
6 กันยายน บราซิล  3–0  คิวบา 25–19 25–21 25–14     75–54
7 กันยายน ตุรกี  3–1  คิวบา 25–13 23–25 25–12 25–23   98–72
7 กันยายน โปแลนด์  0–3  บราซิล 22–25 20–25 21–25     63–75
8 กันยายน บราซิล  3–1  ตุรกี 27–25 25–18 17–25 25–20   94–88
8 กันยายน คิวบา  1–3  โปแลนด์ 17–25 11–25 25–21 22–25   75–96

รอบที่สอง[แก้]

กลุ่ม อี[แก้]

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม
10 กันยายน 15:00 เยอรมนี  2–3  เนเธอร์แลนด์ 23–25 25–22 18–25 25–20 12–15 103–107 P2
10 กันยายน 17:15 บราซิล  3–2  รัสเซีย 25–19 22–25 31–33 27–25 17–15 122–117 P2

กลุ่ม เอฟ[แก้]

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม
10 กันยายน 12:30 เวเนซุเอลา  0–3  เบลารุส 19–25 18–25 16–25     53–75 P2
10 กันยายน 15:00 เกาหลีใต้  1–3  ยูเครน 26–24 18–25 23–25 18–25   85–99 P2
10 กันยายน 15:00 จีน  3–0  ตุรกี 25–17 25–17 25–19     75–53 P2
10 กันยายน 17:00 โปแลนด์  3–2  ไทย 25–18 24–26 25–18 25–27 15–7 114–96 P2

รอบจัดอันดับ[แก้]

จัดอันดับที่ 5–8[แก้]

วันที่ คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม
13 กันยายน เยอรมนี  3–1  เบลารุส 25–21 25–20 23–25 25–21   98–87
13 กันยายน รัสเซีย  2–3  ยูเครน 25–21 19–25 25–18 15–25 26–28 110–117

รอบสุดท้าย[แก้]

รอบรองชนะเลิศ[แก้]

วันที่ คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม
13 กันยายน โปแลนด์  1–3  บราซิล 23–25 20–25 25–16 17–25   85–91
13 กันยายน จีน  3–2  เนเธอร์แลนด์ 25–17 25–20 28–30 20–25 15–4 113–96

รอบชิงอันดับที่สาม[แก้]

วันที่ คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม
14 กันยายน โปแลนด์  3–0  เนเธอร์แลนด์ 28–26 25–23 25–14     78–63

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

วันที่ คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม
14 กันยายน บราซิล  3–2  จีน 22–25 25–22 25–17 21–25 15–10 108–99

รางวัลรายบุคคล[แก้]

อันดับการแข่งขัน[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

การถ่ายทอดสด[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. FIVB. "Competition formula".

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]