วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์สโมสรเอเชีย 1999

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์สโมสรเอเชีย 1999
รายละเอียด
ประเทศเจ้าภาพธงของประเทศจีน จีน
วันที่2–6 มิถุนายน
ทีม6
สถานที่(ใน 1 เมืองเจ้าภาพ)
ชนะเลิศจีน เสฉวนฝูหลัน (สมัยที่ 1)
รางวัล
ผู้เล่นทรงคุณค่าจีน จาง เซี่ยง

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์สโมสรเอเชีย 1999 (อังกฤษ: 1999 Asian Men’s Club Volleyball Championship) เป็นครั้งที่หนึ่งของการแข่งขันชิงแชมป์สโมสรเอเชีย ซึ่งจัดขึ้นที่เหอเฝย์ ประเทศจีน โดยสโมสรเสฉวนฝูหลัน จากประเทศจีน คว้าแชมป์ไปครองได้สำเร็จในการแข่งขันครั้งนี้

ผลการแข่งขัน[แก้]

แข่ง แต้ม เซต
อันดับ ทีม แต้ม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1 จีน เสฉวนฝูหลัน 10 5 0 15 2 7.500 423 348 1.216
2 เกาหลีใต้ ซัมซุงฟายเออร์แอนด์มารีนอินชัวรันซ์ 9 4 1 13 3 4.333 390 320 1.219
3 อิหร่าน เปย์กันเตหะราน 7 2 3 8 9 0.889 374 369 1.014
4 จีน เฉิงตูเอินเหว่ย์ 7 2 3 6 9 0.667 330 346 0.954
5 ญี่ปุ่น เอ็นอีซี เรดร็อกเก็ตส์ 7 2 3 7 11 0.636 395 418 0.945
6 ประเทศกาตาร์ อัลร็อยยาน 5 0 5 0 15 0.000 264 375 0.704
วันที่ คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม
02 มิ.ย. ซัมซุงฟายเออร์แอนด์มารีนอินชัวรันซ์ เกาหลีใต้ 3–0 อิหร่าน เปย์กันเตหะราน 25–20 25–17 25–20     75–57
02 มิ.ย. เสฉวนฝูหลัน จีน 3–1 ญี่ปุ่น เอ็นอีซี เรดร็อกเก็ตส์ 25–22 25–20 23–25 25–21   98–88
02 มิ.ย. เฉิงตูเอินเหว่ย์ จีน 3–0 ประเทศกาตาร์ อัลร็อยยาน 25–22 25–11 25–18     75–51
03 มิ.ย. อัลร็อยยาน ประเทศกาตาร์ 0–3 เกาหลีใต้ ซัมซุงฟายเออร์แอนด์มารีนอินชัวรันซ์ 13–25 21–25 17–25     51–75
03 มิ.ย. เปย์กันเตหะราน อิหร่าน 0–3 จีน เสฉวนฝูหลัน 21–25 22–25 13–25     56–75
03 มิ.ย. เอ็นอีซี เรดร็อกเก็ตส์ ญี่ปุ่น 0–3 จีน เฉิงตูเอินเหว่ย์ 19–25 21–25 23–25     63–75
04 มิ.ย. เปย์กันเตหะราน อิหร่าน 3–0 ประเทศกาตาร์ อัลร็อยยาน 25–11 25–14 25–15     75–40
04 มิ.ย. เสฉวนฝูหลัน จีน 3–0 จีน เฉิงตูเอินเหว่ย์ 25–20 25–20 25–18     75–58
04 มิ.ย. เอ็นอีซี เรดร็อกเก็ตส์ ญี่ปุ่น 0–3 เกาหลีใต้ ซัมซุงฟายเออร์แอนด์มารีนอินชัวรันซ์ 22–25 18–25 18–25     58–75
05 มิ.ย. เฉิงตูเอินเหว่ย์ จีน 0–3 อิหร่าน เปย์กันเตหะราน 20–25 18–25 30–32     68–82
05 มิ.ย. อัลร็อยยาน ประเทศกาตาร์ 0–3 ญี่ปุ่น เอ็นอีซี เรดร็อกเก็ตส์ 22–25 21–25 23–25     66–75
05 มิ.ย. ซัมซุงฟายเออร์แอนด์มารีนอินชัวรันซ์ เกาหลีใต้ 1–3 จีน เสฉวนฝูหลัน 25–23 21–25 25–27 19–25   90–100
06 มิ.ย. เอ็นอีซี เรดร็อกเก็ตส์ ญี่ปุ่น 3–2 อิหร่าน เปย์กันเตหะราน 25–27 21–25 25–18 25–21 15–13 111–104
06 มิ.ย. เสฉวนฝูหลัน จีน 3–0 ประเทศกาตาร์ อัลร็อยยาน 25–15 25–20 25–21     75–56
06 มิ.ย. เฉิงตูเอินเหว่ย์ จีน 0–3 เกาหลีใต้ ซัมซุงฟายเออร์แอนด์มารีนอินชัวรันซ์ 19–25 14–25 21–25     54–75

อันดับการแข่งขัน[แก้]

อันดับ ทีม
1 จีน เสฉวนฝูหลัน
2 เกาหลีใต้ ซัมซุงฟายเออร์แอนด์มารีนอินชัวรันซ์
3 อิหร่าน เปย์กันเตหะราน
4 จีน เฉิงตูเอินเหว่ย์
5 ญี่ปุ่น เอ็นอีซี เรดร็อกเก็ตส์
6 ประเทศกาตาร์ อัลร็อยยาน

รางวัล[แก้]

  • ผู้เล่นทรงคุณค่า: จีน จาง เซี่ยง (เสฉวน)
  • ตบยอดเยี่ยม: เกาหลีใต้ ชิน จิน-ซิก (ซัมซุง)
  • บล็อกยอดเยี่ยม: จีน จู กาง (เสฉวน)
  • เสิร์ฟยอดเยี่ยม: จีน จาง หลีหมิง (เสฉวน)
  • รับลูกเสิร์ฟยอดเยี่ยม: อิหร่าน อะซิม จาซีเดห์ (เปย์กัน)
  • เซ็ตยอดเยี่ยม: จีน อี ว่าน (เสฉวน)
  • รับลูกตบยอดเยี่ยม: เกาหลีใต้ ชิน จิน-ซิก (ซัมซุง)

อ้างอิง[แก้]