พลัม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก ลูกพลัม)
พลัม
ลูกพลัมที่โตเต็มที่
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
หมวด: Magnoliophyta
ชั้น: Magnoliopsida
อันดับ: Rosales
วงศ์: Rosaceae
วงศ์ย่อย: Maloideae หรือ Spiraeoideae [1]
สกุล: Prunus
สกุลย่อย: Prunus
สปีชีส์

ดูในบทความ

พลัม [2] หรือ ไหน [3] เป็นไม้ผลที่มีผลแบบผลเมล็ดเดียวแข็ง อยู่ในสกุล Prunus สกุลย่อย Prunus ซึ่งเป็นสกุลย่อยที่ต่างจากสกุลย่อยอื่นๆ (ลูกท้อ, เชอร์รี่, อื่นๆ) ตรงหน่อมีตายอดและตาข้างเดี่ยว (ไม่เป็นกลุ่ม) ดอกออกเป็นกลุ่ม 1-5 ดอกบนก้านสั้นๆ ผลมีร่องยาวด้านข้าง และเมล็ดเรียบ เมื่อผลโตเต็มที่มีมีนวลสีขาวปกคลุม สามารถถูกออกได้ง่าย สารเคลือบนั้นรู้จักกันดีในชื่อ "wax bloom" เมื่อสุกเปลือกสีม่วงอมดำ เนื้อสีเหลือง รสหวานหรือหวานอมเปรี้ยว

Prunus spp.
คุณค่าทางโภชนาการต่อ 100 กรัม (3.5 ออนซ์)
พลังงาน192 กิโลจูล (46 กิโลแคลอรี)
11.4 g
น้ำตาล9.9 g
ใยอาหาร1.4 g
0.28 g
0.70 g
วิตามิน
วิตามินเอ345 IU
วิตามินซี
(11%)
9.5 มก.
แร่ธาตุ
ฟอสฟอรัส
(2%)
16 มก.
โพแทสเซียม
(3%)
157 มก.

1 fruit (2-1/8" dia) 66 g
1 cup, sliced 165 g
ประมาณร้อยละคร่าว ๆ โดยใช้การแนะนำของสหรัฐสำหรับผู้ใหญ่
แหล่งที่มา: USDA FoodData Central
พลัมแห้ง, ยังไม่ได้ประกอบอาหาร
คุณค่าทางโภชนาการต่อ 100 กรัม (3.5 ออนซ์)
พลังงาน1,006 กิโลจูล (240 กิโลแคลอรี)
63.88 g
น้ำตาล38.13 g
ใยอาหาร7.1 g
0.38 g
2.18 g
วิตามิน
วิตามินเอ781 IU
วิตามินซี
(1%)
0.6 มก.
แร่ธาตุ
ฟอสฟอรัส
(10%)
69 มก.
โพแทสเซียม
(16%)
732 มก.

1 prune, pitted 9.5 g
1 cup, pitted 174 g
ประมาณร้อยละคร่าว ๆ โดยใช้การแนะนำของสหรัฐสำหรับผู้ใหญ่
แหล่งที่มา: USDA FoodData Central

สปีชีส์[แก้]

สกุลย่อย Prunus แบ่งเป็นสามหมู่ด้วยกัน:

  • หมู่ Prunus (พลัมโลกเก่า) ใบที่ตาม้วนเข้า ดอกกลุ่ม 1-3 ดอก ผลเรียบ มีไขปกคลุม
  • หมู่ Prunocerasus (พลัมโลกใหม่) ใบที่ตาพับเข้า ดอกกลุ่ม 3-5 ดอก ผลเรียบ มีไขปกคลุม
  • หมู่ Armeniaca ใบที่ตาม้วนเข้า ดอกมีก้านสั้น ผลนิ่ม ลื่น ถูกยกเป็นสกุลย่อยโดยผู้แต่งบางคน

อ้างอิง[แก้]

  1. Potter, D.; Eriksson, T.; Evans, R.C.; Oh, S.H.; Smedmark, J.E.E.; Morgan, D.R.; Kerr, M.; Robertson, K.R.; Arsenault, M.P.; Dickinson, T.A.; Campbell, C.S. (2007). Phylogeny and classification of Rosaceae. Plant Systematics and Evolution. 266 (1–2) : 5–43.
  2. "ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย เต็ม สมิตินันทน์". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-05-01. สืบค้นเมื่อ 2010-04-14.
  3. พลัม เป็นคำทับศัพท์มาจากภาษาอังกฤษ plum ส่วน ไหน เป็นคำปรากฏในพจนานุกรมในภาษาไทย ซึ่งเป็นคำยืมจากภาษาจีน


แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]