ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2493

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2493
แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล
ระบบแรกก่อตัว6 พฤษภาคม พ.ศ. 2493
ระบบสุดท้ายสลายตัว1 มกราคม พ.ศ. 2494
พายุมีกำลังมากที่สุด
ชื่อพายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นดอริส
สถิติฤดูกาล
พายุโซนร้อนทั้งหมด18
พายุไต้ฝุ่น12
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น1
ผู้เสียชีวิตทั้งหมดไม่ทราบ
ความเสียหายทั้งหมดไม่ทราบ
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก
2491, 2492, 2493, 2494, 2495

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2493 ไม่ได้มีการกำหนดขอบเขตอย่างเป็นทางการ โดยจะอยู่ในช่วงปี พ.ศ. 2493 แต่ช่วงเวลาที่มีพายุหมุนเขตร้อนก่อตัวมากที่สุด ภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ จะอยู่ในช่วงเดือนมิถุนายนถึงเดือนธันวาคม ซึ่งเวลาเหล่านี้เป็นเครื่องแสดงถึงช่วงที่พายุหมุนเขตร้อนก่อตัวมากที่สุดภายใน มหาสมุทรตะวันตกเฉียงเหนือ

ขอบเขตของบทความนี้จะอยู่ภายในมหาสมุทรแปซิฟิก บริเวณด้านเหนือของเส้นศูนย์สูตรและทางตะวันตกของเส้นแบ่งเขตวันสากล ถ้าพายุหมุนเขตร้อนจะก่อตัวทางตะวันออกของเส้นแบ่งเขตวันสากล และด้านเหนือของเส้นศูนย์สูตร พายุหมุนเขตร้อนบริเวณนั้นจะเรียกว่าพายุเฮอร์ริเคน ดูที่ ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2493 และถ้ามีพายุโซนร้อนเคลื่อนตัวเข้ามาภายในแอ่งแปซิฟิกตะวันตก จะได้รับชื่อพายุจากองค์การเตือนไต้ฝุ่นแปซิฟิกเหนือ

พายุ[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังแรง 01W[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังแรง (CMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 12 – 15 เมษายน
ความรุนแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
984 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.06 นิ้วปรอท)

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นดอริส[แก้]

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 6 – 14 พฤษภาคม
ความรุนแรง 240 กม./ชม. (150 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
928 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.4 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อน 02W[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 5 – 9 มิถุนายน
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
997 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.44 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นเอลซี[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 23 – 24 มิถุนายน
ความรุนแรง 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
981 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.97 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรง 6 (โดย CMA)[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังแรง (CMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 12 – 15 กรกฎาคม
ความรุนแรง 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนฟลอสซี[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 15 – 19 กรกฎาคม
ความรุนแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
993 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.32 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นเกรซ[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 16 – 21 กรกฎาคม
ความรุนแรง 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
981 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.97 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเฮลีน[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 24 กรกฎาคม – 3 สิงหาคม
ความรุนแรง 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
991 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.26 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อน 13W[แก้]

พายุโซนร้อน (CMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 2 – 4 สิงหาคม
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
992 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.29 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อน 15W[แก้]

พายุโซนร้อน (CMA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 3 – 4 สิงหาคม
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
998 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.47 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อน 16W[แก้]

พายุโซนร้อน (CMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 4 – 6 สิงหาคม
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
996 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.41 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นไอดา[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 9 – 21 สิงหาคม
ความรุนแรง 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
973 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.73 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรง 20W[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังแรง (CMA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 10 – 14 สิงหาคม
ความรุนแรง 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงยี่สิบเอ็ด[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 11 – 14 สิงหาคม
ความรุนแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรง 23W[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังแรง (CMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 14 – 22 สิงหาคม
ความรุนแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นเจน[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา 29 สิงหาคม – 4 กันยายน
ความรุนแรง 185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
943 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.85 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นเจนเข้าปะทะกับเกาะชิโกะกุในญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 3 กันยายน ทำให้เกิดน้ำท่วมและแผ่นดินเลื่อน และผู้เสียชีวิต 539 คน [1] เก็บถาวร 2008-10-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน

พายุไต้ฝุ่นเคเซีย[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา 4 – 15 กันยายน
ความรุนแรง 185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
945 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.91 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรง 26W[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังแรง (CMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 6 – 8 กันยายน
ความรุนแรง 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
995 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.38 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนลูครีเชีย[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 14 – 19 กันยายน
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
987 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.15 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนมิซเซทา[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 13 – 19 กันยายน
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
984 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.06 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นออสเซีย[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา 27 กันยายน – 6 ตุลาคม
ความรุนแรง 185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
966 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.53 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นเพที[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 18 – 24 ตุลาคม
ความรุนแรง 165 กม./ชม. (105 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
978 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.88 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรง 25W[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังแรง (CMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 26 – 31 ตุลาคม
ความรุนแรง 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
995 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.38 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นรูบี[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา 27 – 31 ตุลาคม
ความรุนแรง 185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
918 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.11 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นบิลลีย์[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 4 – 9 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นคลารา[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 4 – 13 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 230 กม./ชม. (145 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
899 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 26.55 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเดไลลาห์[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 19 – 25 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
989 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.21 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงเอลเลน[แก้]

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 11 – 13 ธันวาคม
ความรุนแรง 105 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นฟราน[แก้]

พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 26 ธันวาคม – 1 มกราคม
ความรุนแรง 150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นฟราน เป็นพายุลูกสุดท้ายของฤดูกาล ซึ่งเข้าปะทะทางตอนเหนือของฟิลิปปินส์ ซึ่งทำให้มีผู้เสียชีวิต 5 คน[1]

ชื่อพายุ[แก้]

ชื่อเดไลลาห์, เฮลีน, เจน, เคเซีย, ลูครีเชีย, มิซเซทา, ออสเซีย และ เพที ถูกถอดถอนออกในปีนี้ และถูกแทนด้วย ดอต, เฮเลน, จูน, เคทีย์, ลอร์นา, มารี, โอลกา และ แพเมลา

  • ดอริส
  • เอลซี
  • ฟลอสซี
  • เกรซ
  • เฮลีน
  • ไอดา
  • เจน
  • เคเซีย
  • ลูครีเชีย
  • มิซเซทา
  • แนนซี
  • ออสเซีย
  • เพที
  • รูบี
  • แอนนิตา
  • บิลลีย์
  • คลารา
  • เดไลลาห์
  • เอลเลน
  • ฟราน

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Pagasa - Dost - Dost Service Institutes

แหล่งเชื่อมโยงภายนอก[แก้]