ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้ พ.ศ. 2558–2559

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้ พ.ศ. 2558–2559
แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล
ระบบแรกก่อตัว19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
ระบบสุดท้ายสลายตัว24 เมษายน พ.ศ. 2559
พายุมีกำลังมากที่สุด
ชื่อฟองตาลา
 • ลมแรงสูงสุด250 กม./ชม. (155 ไมล์/ชม.)
(เฉลี่ย 10 นาที)
 • ความกดอากาศต่ำที่สุด910 hPa (มิลลิบาร์)
สถิติฤดูกาล
ความแปรปรวนทั้งหมด8
พายุดีเปรสชันทั้งหมด8
พายุโซนร้อนทั้งหมด8
พายุไซโคลนเขตร้อน3
พายุไซโคลนรุนแรง3
พายุไซโคลนรุนแรงมาก1
ผู้เสียชีวิตทั้งหมดไม่ทราบ
ความเสียหายทั้งหมดไม่ทราบ
ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก–ใต้
2556–57, 2557–58, 2558–59, 2559–60, 2560–61

ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้ พ.ศ. 2558–2559 เป็นฤดูกาลในอดีตซึ่งเคยมีการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรอินเดียตะวันตกเฉียงใต้ ฤดูกาลดังกล่าวจะลากยาวตลอด พ.ศ. 2558 ถึง พ.ศ. 2559 โดยเริ่มนับตั้งแต่วันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 จนไปสิ้นสุดลงในวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2559 โดยมีข้อยกเว้นในแถบมอริเชียสและเซเชลส์ ซึ่งจะสิ้นสุดในวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 พายุในเขตนี้จะมีขอบเขตอยู่ทางตะวันตกของเส้น 90°E และทางใต้ของเส้นศูนย์สูตร โดยการติดตามของศูนย์อุตุนิยมวิทยาชำนัญพิเศษประจำภูมิภาค (Regional Specialized Meteorological Center) ในเรอูว์นียง

แนวโน้มฤดูกาล[แก้]

วันที่ 19 ตุลาคม ศูนย์บริการอุตุนิยมวิทยามอริเชียส (MMS) ได้ออกแนวโน้มฤดูกาลในฤดูร้อน 2558 – 2559 โดยคาดว่าในฤดูกาลนี้โดยเฉลี่ย จะมีพายุหมุนเขตร้อนก่อตัวขึ้นประมาณเจ็ดถึงเก้าลูก MMS ยังระบุอีกด้วยว่า ภูมิภาคตั้งแต่เส้นศูนย์สูตรไปถึงทางเหนือของมอริเชียส ทางตะวันออกของอากาเลกา และทางตะวันตกของดีเอโกการ์ซีอา เป็นพื้นที่ที่มีนัยสำคัญที่เอื้อต่อการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อน[1]

ภาพรวมฤดูกาล[แก้]

สเกลพายุหมุนเขตร้อน#ตารางเปรียบเทียบ
ความรุนแรงพายุหมุนเขตร้อนภายในแอ่งนี้
  • ██ บริเวณความกดอากาศต่ำ/หย่อมความกดอากาศต่ำ
  • ██ พายุดีเปรสชันเขตร้อน/พายุดีเปรสชันกึ่งเขตร้อน
  • ██ พายุโซนร้อนกำลังปานกลาง
  • ██ พายุโซนร้อนกำลังแรง
  • ██ พายุไซโคลน
  • ██ พายุไซโคลนรุนแรง
  • ██ พายุไซโคลนรุนแรงมาก

พายุ[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังแรงแอนนาเบลล์[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังแรง (MFR)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 19 – 24 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
986 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.12 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังปานกลางโบฮาเล[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังปานกลาง (MFR)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 8 – 13 ธันวาคม
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
996 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.41 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงคูฮองตัง[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังแรง (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 20 – 25 มกราคม
ความรุนแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
970 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.64 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังปานกลางดายา[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังปานกลาง (MFR)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 8 – 12 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
992 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.29 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนรุนแรงอูเรียห์[แก้]

พายุไซโคลนเขตร้อนรุนแรง (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 12 (เข้ามาในแอ่ง) – 19 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง 205 กม./ชม. (125 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
925 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.32 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนรุนแรงเอ็มเมอโฮด์[แก้]

พายุไซโคลนเขตร้อนรุนแรง (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 15 – 21 มีนาคม
ความรุนแรง 205 กม./ชม. (125 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
940 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.76 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังปานกลาง 07[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังปานกลาง (MFR)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 28 – 30 มีนาคม
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
992 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.29 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนรุนแรงมากฟองตาลา[แก้]

พายุไซโคลนเขตร้อนรุนแรงมาก (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 5 (SSHWS)
ระยะเวลา 11 – 24 เมษายน
ความรุนแรง 250 กม./ชม. (155 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
910 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 26.87 นิ้วปรอท)

รายชื่อพายุ[แก้]

ภายในทิศตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรอินเดีย ดีเปรสชันเขตร้อนและกึ่งดีเปรสชันเขตร้อน ที่มีความเร็วลมรอบศูนย์กลางเฉลี่ย 10 นาที 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภูมิภาคในเกาะเรอูว์นียง, ประเทศฝรั่งเศส (RSMC เรอูว์นียง) จะเป็นผู้กำหนดชื่อพายุ อย่างไรก็ตาม ศูนย์ย่อยภูมิภาคพายุหมุนเขตร้อนในมอริเชียสและมาดากัสการ์จะกำหนดชื่อ เมื่อระบบเป็นพายุโซนร้อนระหว่าง 55°ตะวันออก และ 90°ตะวันออก ถ้าพายุโซนร้อนระหว่าง 30°ตะวันออก และ 55°ตะวันออกแล้ว ศูนย์ย่อยจะกำหนดชื่อที่เหมาะสมของพายุ โดยรายชื่อใหม่จะใช้เป็นประจำทุกปีในขณะที่ชื่อปกติจะใช้เพียงครั้งเดียวจึงไม่มีการถอดถอนชื่อออก[2]

  • แอนนาเบลล์
  • โบฮาเล
  • คูฮองตัง
  • ดายา
  • เอ็มเมอโฮด์
  • ฟองตาลา
  • เกา (ยังไม่ใช้)
  • อัซชินา (ยังไม่ใช้)
  • อินาซิว (ยังไม่ใช้)
  • จูมา (ยังไม่ใช้)
  • เคติเว (ยังไม่ใช้)
  • ลาเลลานี (ยังไม่ใช้)
  • มูอาบี (ยังไม่ใช้)
  • นาอิมา (ยังไม่ใช้)
  • อุคตาฟ (ยังไม่ใช้)
  • เพียฮา (ยังไม่ใช้)
  • คีซิตู (ยังไม่ใช้)
  • ริชาร์ด (ยังไม่ใช้)
  • โซเฟีย (ยังไม่ใช้)
  • ทาเทียนา (ยังไม่ใช้)
  • อุมโบนี (ยังไม่ใช้)
  • เวลา (ยังไม่ใช้)
  • เวย์น (ยังไม่ใช้)
  • ซาบา (ยังไม่ใช้)
  • ยาซิด (ยังไม่ใช้)
  • เซนานี (ยังไม่ใช้)

ผลกระทบ[แก้]

ตารางนี้จะแสดงพายุหมุนเขตร้อนและพายุหมุนกึ่งเขตร้อนทั้งหมดในช่วงฤดู 2558-2559 ของมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้ ซึ่งจะระบุข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับความรุนแรง, ช่วงเวลา, ชื่อ, พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ, ซึ่งข้อมูลส่วนใหญ่มาจากศูนย์กลางอุตุนิยมวิทยากำหนดขอบเขตส่วนภูมิภาค (RSMC) ลาเรอูว์นียง, จำนวนผู้เสียชีวิต และผลกระทบ ซึ่งมาจากรายงาน ข่าว หรือหน่วยงานจัดการด้านภัยพิบัติแห่งชาติที่เกี่ยวข้อง และผลกระทบจะเป็นค่าเงินดอลลาร์สหรัฐ ค.ศ. 2015 หรือ 2016 (พ.ศ. 2558 หรือ 2559)

ชื่อพายุ ช่วงวันที่ ระดับความรุนแรง
ขณะมีกำลังสูงสุด
ความเร็วลมต่อเนื่อง
(เฉลี่ย 10 นาที)
ความกดอากาศ พื้นที่ผลกระทบ ความเสียหาย
(USD)
ผู้เสียชีวิต อ้างอิง
แอนนาเบลล์ 19 – 24 พฤศจิกายน พายุโซนร้อนกำลังแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) 986 hPa (29.12 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
โบฮาเล 8 – 13 ธันวาคม พายุโซนร้อนกำลังปานกลาง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) 996 hPa (29.41 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
คูฮองตัง 20 – 25 มกราคม พายุโซนร้อนกำลังแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) 970 hPa (28.64 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ดายา 8 – 12 กุมภาพันธ์ พายุโซนร้อนกำลังปานกลาง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) 992 hPa (29.29 นิ้วปรอท) มาดากัสการ์ มาดากัสการ์
เรอูว์นียง เรอูว์นียง
มอริเชียส มอริเชียส
มอริเชียส มอริเชียส
เฟรนช์เซาเทิร์นและแอนตาร์กติกแลนดส์ หมู่เกาะแกร์เกแลน
วิลเคสแลนด์
ไม่ทราบ ไม่มี
อูเรียห์ 14 – 19 กุมภาพันธ์ พายุไซโคลนรุนแรง 205 กม./ชม. (125 ไมล์/ชม.) 925 hPa (27.32 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
เอ็มเมอโฮด์ 15 – 21 มีนาคม พายุไซโคลนรุนแรง 205 กม./ชม. (125 ไมล์/ชม.) 940 hPa (27.76 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
07 28 – 30 มีนาคม พายุโซนร้อนกำลังปานกลาง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) 992 hPa (29.29 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ฟองตาลา 11 – 24 เมษายน พายุไซโคลนรุนแรงมาก 250 กม./ชม. (155 ไมล์/ชม.) 910 hPa (26.87 นิ้วปรอท) มอริเชียส อาเกเลเก
เซเชลส์ เซเชลส์
มาดากัสการ์ มาดากัสการ์
ไม่มี ไม่มี
สรุปฤดูกาล
8 ลูก 19 พฤศจิกายน – 24 เมษายน   250 กม./ชม. (155 ไมล์/ชม.) 910 hPa (26.87 นิ้วปรอท)   ไม่มี ไม่มี


ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Summer 2015–2016 Outlook for Mauritius and Rodrigues". Mauritius Meteorological Services. October 19, 2015. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-10-20. สืบค้นเมื่อ October 20, 2015.
  2. คณะกรรมการพายุหมุนเขตร้อนภูมิภาคสมาคม ๑ (Regional Association I) (2010). "Tropical Cyclone Operational Plan for the South-West Indian Ocean" (PDF). องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก. สืบค้นเมื่อ 2012-06-07.