ฤดูพายุเฮอริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2559
ฤดูพายุเฮอริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2559 | |
---|---|
แผนที่สรุปฤดูกาล | |
ขอบเขตฤดูกาล | |
ระบบแรกก่อตัว | 12 มกราคม พ.ศ. 2559 |
ระบบสุดท้ายสลายตัว | 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 |
พายุมีกำลังมากที่สุด | |
ชื่อ | แมตทิว |
• ลมแรงสูงสุด | 160 ไมล์/ชม. (260 กม./ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที) |
• ความกดอากาศต่ำที่สุด | 934 มิลลิบาร์ (hPa; 27.58 inHg) |
สถิติฤดูกาล | |
พายุดีเปรสชันทั้งหมด | 16 ลูก |
พายุโซนร้อนทั้งหมด | 15 ลูก |
พายุเฮอริเคน | 7 ลูก |
พายุเฮอริเคนขนาดใหญ่ (ระดับ 3 ขึ้นไป) | 3 ลูก |
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด | ทั้งหมด 1,766 คน |
ความเสียหายทั้งหมด | ≥ 1.1665 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ (ค่าเงิน USD ปี 2016) |
ฤดูพายุเฮอริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2559 คือช่วงของฤดูกาลในอดีต ที่เคยมีการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อน ฤดูกาลอย่างเป็นทางการจะเริ่มนับในวันที่ 1 มิถุนายน และไปสิ้นสุดในวันที่ 30 พฤศจิกายน เหล่านี้วันตามขอบระยะเวลาของแต่ละช่วงฤดูถือเป็นช่วงเวลาที่มีพายุก่อตัวมากที่สุดในแอ่งแอตแลนติก อย่างไรก็ตามการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อนสามารถก่อตัวได้ทุกเวลา ฤดูกาลนี้เริ่มต้นเร็วกว่าปกติถึงเกือบ 5 เดือน ก่อนที่จะมีการเริ่มต้นฤดูกาลอย่างเป็นทางการ โดยพายุเฮอริเคนอเล็กซ์ ก่อตัวขึ้นทางตะวันออกของมหาสมุทรแอตแลนติกในวันที่ 13 มกราคม
ภาพรวมฤดูกาล
[แก้]พายุ
[แก้]พายุเฮอริเคนอเล็กซ์
[แก้]พายุเฮอริเคนระดับ 1 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 13 – 15 มกราคม | ||
ความรุนแรง | 85 ไมล์/ชม. (140 กม./ชม.) (1 นาที) 981 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 28.97 นิ้วปรอท) |
- วันที่ 7 มกราคม ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา ได้เริ่มติดตามหย่อมความกดอากาศต่ำนอกเขตร้อนที่มีศักยภาพ ซึ่งอยู่ห่างจากเบอร์มิวดา ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้กึ่งใต้ ที่ระยะ 425 ไมล์ (685 กม.) ซึ่งมีลักษณะเหมือนพายุโซนร้อน หรือ พายุกึ่งโซนร้อน หลายวันต่อมา ระบบเคลื่อนตัวข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกตอนกลาง[1]
- วันที่ 13 มกราคม การหมุนเวียนเริ่มขึ้นใกล้กับศูนย์กลางของความกดอากาศต่ำ[2] นำไปสู่การก่อตัวเป็นพายุกึ่งโซนร้อน และได้รับชื่อ อเล็กซ์ โดยระบบอยู่ห่างจากอะโซร์สไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้กึ่งใต้ ที่ระยะ 785 ไมล์ (1,260 กม.) ณ เวลา 21:00 UTC
- วันที่ 15 มกราคม ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติออกแถลงฉบับสุดท้ายกับพายุเฮอริเคนอเล็กซ์ เนื่องจากระบบพายุเปลี่ยนผ่านเป็นพายุหมุนนอกเขตร้อน[3]
- วันที่ 17 มกราคม อเล็กซ์ถูกกลืนโดยพายุหมุนนอกเขตร้อนอีกลูกหนึ่ง ในตอนใต้ของทะเลแลบราดอร์[4]
อเล็กซ์เป็นพายุกึ่งโซนร้อนลูกแรกในเดือนมกราคม นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2521 และจากการบันทึก พบว่ามีพายุหมุนเขตร้อน หรือพายุหมุนนอกเขตร้อนเพียงสี่ลูกที่ก่อตัวในช่วงเดือนนี้[5][6] ต่อมาในวันที่ 14 มกราคม เวลา 15:00 UTC อเล็กซ์ ทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุเฮอริเคน และกลายเป็นพายุเฮอริเคนลูกที่สองในเดือนมกราคม นับตั้งแต่พายุเฮอริเคนหนึ่ง เมื่อปี พ.ศ. 2481[7]
พายุโซนร้อนบอนนี
[แก้]พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 27 พฤษภาคม – 5 มิถุนายน | ||
ความรุนแรง | 45 ไมล์/ชม. (75 กม./ชม.) (1 นาที) 1006 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.71 นิ้วปรอท) |
- วันที่ 24 พฤษภาคม ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ (National Hurricane Center หรือ NHC) เริ่มเฝ้าระวังพื้นที่ของอากาศแปรปรวน ซึ่งเป็นผลมาจากปฏิกิริยาของแนวปะทะอากาศเย็นกำลังอ่อนและร่องความกดอากาศต่ำระดับบน[8]
- วันที่ 25 พฤษภาคม พื้นผิวของความกดอากาศต่ำก่อตัวขึ้น[9]
- วันที่ 27 พฤษภาคม องค์ประกอบที่เพียงพอประสบความสำเร็จในที่สุด กลายเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อน ในเวลา 21:00 UTC[10] ระบบนำไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือกึ่งตะวันตกภายในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อเล็กน้อย
- วันที่ 28 พฤษภาคม พายุดีเปรสชันค่อย ๆ ทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุโซนร้อนอย่างช้า ๆ และได้ชื่อ บอนนี[11]
- วันที่ 29 พฤษภาคม ความต่อเนื่องได้รับผลจากลมเฉือนระดับสูงและอากาศที่แห้ง ทำให้ลักษณะปรากฏของพายุหมุนเสื่อมลงก่อนกำหนด[12] และบอนนี ได้อ่อนกำลังลงเป็นพายุดีเปรสชันซึ่งมีกำลังน้อยกว่าช่วงไม่กี่ชั่วโมงที่พัดขึ้นฝั่งทางตะวันออกของเมืองชาร์ลสตัน รัฐเซาท์แคโรไลนา[13][14]
- วันที่ 30 พฤษภาคม พายุดีเปรสชันเคลื่อนไปเรื่อย ๆ เหนือรัฐเซาท์แคโรไลนา สหรัฐอเมริกา ก่อนจะเสื่อมถอยลงเป็นเศษความกดอากาศต่ำเหนือบางส่วนของรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือ ในเวลา 15:00 UTC[15]
- วันที่ 2 มิถุนายน อย่างไรก็ตาม บอนนีได้ทวีกำลังขึ้นเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อนอีกครั้ง
- วันที่ 3 มิถุนายน บอนนีได้ทวีกำลังแรงกลับเป็นพายุโซนร้อนอีกครั้ง เนื่องจากการหมุนเวียนพลังลมฉับพลัน
- วันที่ 4 มิถุนายน บอนนีอ่อนกำลังลงเป็นพายุดีเปรสชันอีกครั้ง
เหนือการก่อตัว การเตือนภัยพายุโซนร้อนถูกใช้ระหว่างแม่น้ำสะวันนาถึงแม่น้ำลิตเติ้ล[10] ฝนตกหนักที่เกี่ยวข้องกับบอนนีก่อให้เกิดน้ำท่วมเฉพาะที่ พร้อมกับตำรวจทางหลวงรัฐเซาท์แคโรไลนาได้ปิดการจราจรเส้นทางมุ่งหน้าลงใต้ของทางหลวงอินเตอร์สเตตหมายเลข 95 ในแจสเปอร์เคาน์ตี รัฐเซาท์แคโรไลนา[16] คลื่นยักษ์พัดเข้าตลอดแนวชายฝั่งของสหรัฐอเมริกาตะวันออกเฉียงใต้ มีการค้นพบร่างของชายอายุ 20 ปี ในเบรฟวาร์ดเคาน์ตี รัฐฟลอริดา หลังจากเขาจมน้ำเสียชีวิต ขณะที่มีการพบร่างชายอายุ 21 ปี ในนิวแฮโนเวอร์เคาน์ตี รัฐนอร์ทแคโรไลนา ภายหลังจากที่เขาได้หายตัวไปหลายวัน[17] ในทั้งหมด บอนนีถูกประมาณว่าเป็นสาเหตุของความเสียหายมากกว่า 600,000 ดอลลาร์สหรัฐ (ค่าเงิน ค.ศ. 2016)[18]
พายุโซนร้อนคอลิน
[แก้]พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 5 – 7 มิถุนายน | ||
ความรุนแรง | 50 ไมล์/ชม. (85 กม./ชม.) (1 นาที) 1000 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.53 นิ้วปรอท) |
- วันที่ 3 มิถุนายน หย่อมความกดอากาศเข้าสู่ทะเลแคริบเบียน โดยเศษของหย่อมความกดอากาศต่ำไม่เป็นระบบด้วยการพาความร้อนที่แยกไปโดยมากในจตุภาคตะวันออก ต่อมาการพาความร้อนเริ่มกลับมาโอบรอบศูนย์กลาง ในลักษณะโค้งทางเหนือเข้าสู่อ่าวเม็กซิโก[19]
- วันที่ 5 มิถุนายน หลังจากความกดอากาศต่ำเคลื่อนตัวผ่านคาบสมุทรยูกาตัน ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ (NHC) ได้ประกาศทวีความรุนแรงมันเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อนสาม และออกเตือนพายุโซนร้อนในเขตบิกเบนด์ของรัฐฟลอริดา[20][21]
- วันที่ 6 มิถุนายน พายุดีเปรสชันเขตร้อนได้ทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุโซนร้อน และได้รับชื่อ คอลิน หลังจากที่มีการประกาศเฝ้าระวังพายุโซนร้อนในตะวันออกของรัฐฟลอริดา และรัฐจอร์เจีย[22][23] คอลินเคลื่อนตัวไปทางตะวันออกเฉียงเหนือกึ่งเหนือเรื่อย ๆ โดยมีแถบฝนรอบนอกเป็นสาเหตุของฝนตกในเมืองแทมปา และส่วนมากของชายฝั่งด้านอ่าวของรัฐฟลอริดา ด้วยความรุนแรงถึง 50 mph (80 km/h) ทำให้ส่วนมากของรัฐฟลอริดาเผชิญกับฝนตกหนัก น้ำท่วมฉับพลัน และมีการประกาศเตือนพายุทอร์นาโด
- วันที่ 7 มิถุนายน คอลินขึ้นฝั่งในเขตบิ๊กเบนของรัฐฟลอริดา และเคลื่อนตัวไปทางตอนเหนือของรัฐฟลอริดาและตะวันออกเฉียงใต้ของรัฐจอร์เจียอย่างรวดเร็ว ก่อนจะลงสู่มหาสมุทรแอตแลนติก และกลายเป็นพายุกึ่งโซนร้อนด้วยความรุนแรง 60 mph (97 km/h) ซึ่งเป็นผลจากกระบวนการบารอคลินิก (Baroclinic processes)
การก่อตัวเป็นพายุโซนร้อนนี้ เป็นการก่อตัวเร็วที่สุดในบันทึกของพายุลูกที่ 3 ที่ได้รับชื่อภายในแอ่งแอตแลนติก เหนือกว่าบันทึกก่อนหน้านี้ซึ่งเกิดขึ้นในฤดูกาล ค.ศ. 1887 (พ.ศ. 2430) เพียง 7 วัน[24]
พายุโซนร้อนแดเนียลล์
[แก้]พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 19 – 21 มิถุนายน | ||
ความรุนแรง | 45 ไมล์/ชม. (75 กม./ชม.) (1 นาที) 1007 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.74 นิ้วปรอท) |
- วันที่ 14 มิถุนายน ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ (NHC ; เอ็นเอชซี) ได้เริ่มตรวจสอบคลื่นเขตร้อนที่ตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียนตะวันตก[25]
พายุเฮอริเคนเอิร์ล
[แก้]พายุเฮอริเคนระดับ 1 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 2 – 6 สิงหาคม | ||
ความรุนแรง | 80 ไมล์/ชม. (130 กม./ชม.) (1 นาที) 979 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 28.91 นิ้วปรอท) |
พายุโซนร้อนฟีโอนา
[แก้]พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 16 – 23 สิงหาคม | ||
ความรุนแรง | 50 ไมล์/ชม. (85 กม./ชม.) (1 นาที) 1004 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.65 นิ้วปรอท) |
พายุเฮอริเคนแกสตัน
[แก้]พายุเฮอริเคนระดับ 3 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 22 สิงหาคม – 3 กันยายน | ||
ความรุนแรง | 120 ไมล์/ชม. (195 กม./ชม.) (1 นาที) 956 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 28.23 นิ้วปรอท) |
พายุดีเปรสชันแปด
[แก้]พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 28 สิงหาคม – 1 กันยายน | ||
ความรุนแรง | 35 ไมล์/ชม. (55 กม./ชม.) (1 นาที) 1010 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.83 นิ้วปรอท) |
พายุเฮอริเคนเฮอร์มีน
[แก้]พายุเฮอริเคนระดับ 1 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 28 สิงหาคม – 3 กันยายน | ||
ความรุนแรง | 80 ไมล์/ชม. (130 กม./ชม.) (1 นาที) 982 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29 นิ้วปรอท) |
พายุโซนร้อนเอียน
[แก้]พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 12 – 16 กันยายน | ||
ความรุนแรง | 60 ไมล์/ชม. (95 กม./ชม.) (1 นาที) 994 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.35 นิ้วปรอท) |
พายุโซนร้อนจูเลีย
[แก้]พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 14 – 19 กันยายน | ||
ความรุนแรง | 40 ไมล์/ชม. (65 กม./ชม.) (1 นาที) 1007 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.74 นิ้วปรอท) |
พายุโซนร้อนคาร์ล
[แก้]พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 14 – 25 กันยายน | ||
ความรุนแรง | 70 ไมล์/ชม. (110 กม./ชม.) (1 นาที) 988 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.18 นิ้วปรอท) |
พายุโซนร้อนลีซา
[แก้]พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 19 – 25 กันยายน | ||
ความรุนแรง | 50 ไมล์/ชม. (85 กม./ชม.) (1 นาที) 999 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.5 นิ้วปรอท) |
พายุเฮอริเคนแมตทิว
[แก้]พายุเฮอริเคนระดับ 5 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 28 กันยายน – 9 ตุลาคม | ||
ความรุนแรง | 160 ไมล์/ชม. (260 กม./ชม.) (1 นาที) 934 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 27.58 นิ้วปรอท) |
พายุเฮอริเคนนิโคล
[แก้]พายุเฮอริเคนระดับ 4 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 4 – 18 ตุลาคม | ||
ความรุนแรง | 130 ไมล์/ชม. (215 กม./ชม.) (1 นาที) 950 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 28.05 นิ้วปรอท) |
พายุเฮอริเคนออตโต
[แก้]พายุเฮอริเคนระดับ 2 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 21 – 25 พฤศจิกายน (ออกนอกแอ่ง) | ||
ความรุนแรง | 110 ไมล์/ชม. (175 กม./ชม.) (1 นาที) 975 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 28.79 นิ้วปรอท) |
รายชื่อพายุ
[แก้]รายชื่อต่อไปนี้จะใช้สำหรับพายุที่ก่อตัวในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือในปี พ.ศ. 2559 หากมีชื่อที่ถูกปลด จะมีการประกาศโดยองค์การอุตุนิยมวิทยาโลกในฤดูใบไม้ผลิ พ.ศ. 2560 และชื่อที่ไม่ได้ถูกปลดจากรายการนี้จะถูกนำกลับมาใช้อีกครั้งในปี พ.ศ. 2565 โดยรายการที่ใช้ในปีนี้เป็นรายการเดียวกับที่ใช้ในฤดูกาล พ.ศ. 2553 โดยในฤดูนี้มีชื่อที่เปลี่ยนแปลงคือ อีกอร์ และ โทมัส ซึ่งถูกปลดและแทนที่ด้วย เอียน และ โทไบอัส ตามลำดับ[26]
|
|
|
ผลกระทบ
[แก้]ตารางนี้แสดงพายุทั้งหมดที่ก่อตัวในปี พ.ศ. 2559 ซึ่งรวมระยะเวลาการก่อตัว, ชื่อ, สถานที่ขึ้นฝั่ง–แสดงชื่อสถานที่เป็นตัวหนา– , ความเสียหาย และจำนวนผู้เสียชีวิตทั้งหมด ส่วนการเสียชีวิตในวงเล็บคือการเสียชีวิตเพิ่มเติมและทางอ้อม (เช่นการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนถนน) แต่ที่เกี่ยวข้องกับพายุโดยตรงยังคงที่ ความเสียหายและการเสียชีวิตรวมถึงขณะที่พายุกลายเป็นเอ็กซ์ตราทรอปิคอล, คลื่น ความเสียหายทั้งหมดนับเป็นดอร์ล่าสหรัฐ ค่าเงินปี ค.ศ. 2016
ชื่อ พายุ |
วันที่ | ระดับความรุนแรง ขณะมีความรุนแรงสูงสุด |
ลมสูงสุด 1-นาที ไมล์/ชม. (กม./ชม.) |
ความกดอากาศ (มิลลิบาร์) |
พื้นที่ได้รับผลกระทบ | ความเสียหาย (ดอลลาร์สหรัฐ) |
เสียชีวิต | อ้างอิง
| |||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
อเล็กซ์ | 13 – 15 มกราคม | พายุเฮอริเคนระดับ 1 | 85 (140) | 981 | อะโซร์ส เบอร์มิวดา |
เล็กน้อย | (1) | ||||
บอนนี | 27 พฤษภาคม – 5 มิถุนายน | พายุโซนร้อน | 45 (75) | 1006 | สหรัฐอเมริกาตะวันออกเฉียงใต้ บาฮามาส |
>0.6 | 2 | ||||
คอลิน | 5 – 7 มิถุนายน | พายุโซนร้อน | 50 (85) | 1000 | คาบสมุทรยูกาทัน คิวบา ฝั่งทะเลด้านตะวันออกของสหรัฐอเมริกา |
0.01 | 4 | ||||
แดเนียลล์ | 19 – 21 มิถุนายน | พายุโซนร้อน | 45 (75) | 1007 | คาบสมุทรยูกาทันและเม็กซิโกตะวันออก | ไม่ทราบ | 1 | ||||
สรุปฤดูกาล | |||||||||||
3 ลูก | 13 มกราคม – 25 พฤศจิกายน | 85 (140) | 981 | >0.65 | 7 (1) |
ดูเพิ่ม
[แก้]- รายชื่อฤดูพายุแอตแลนติก
- ฤดูพายุเฮอริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2559
- ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2559
- ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียเหนือ พ.ศ. 2559
- ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้: 2558–2559, 2558–2560
- ฤดูพายุไซโคลนภูมิภาคออสเตรเลีย: 2558-2559, 2559-2560
- ฤดูพายุไซโคลนแปซิฟิกใต้: 2558-2559, 2559-2560
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Michael J. Brennan (January 7, 2016). "Special Tropical Weather Outlook valid 325 pm EST Thu Jan 7 2016". Miami, Florida: National Hurricane Center. สืบค้นเมื่อ January 13, 2016.
- ↑ Richard J. Pasch (January 7, 2016). "Special Tropical Weather Outlook valid 105 pm EST Wed Jan 13 2016". Miami, Florida: National Hurricane Center. สืบค้นเมื่อ January 13, 2016.
- ↑ POST-TROPICAL CYCLONE ALEX ADVISORY NUMBER 9
- ↑ Frank S. Musonda (January 17, 2016). High Seas Forecast for MetArea IV (Report). Ocean Prediction Center. สืบค้นเมื่อ January 17, 2016.[ลิงก์เสีย]
- ↑ Richard J. Pasch (January 13, 2016). "Subtropical Storm Alex Discussion Number 1". Miami, Florida: National Hurricane Center. สืบค้นเมื่อ January 13, 2016.
- ↑ Petersen, Bo. "2016 hurricane season gets very early start". The Post And Courier. The Post And Courier. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-01-17. สืบค้นเมื่อ 13 January 2016.
- ↑ Wood, Tony. "Alex makes hurricane history". philly.com. Inquirer Weather Columnist. สืบค้นเมื่อ 14 January 2016.
- ↑ Eric S. Blake (24 พฤษภาคม 2559). "Special Tropical Weather Outlook 335 pm EDT Tue May 24 2016". ไมอามี รัฐฟลอริดา: ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 30 พฤษภาคม 2559.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ Todd B. Kimberlain (25 พฤษภาคม 2559). "Special Tropical Weather Outlook 740 pm EDT Wed May 25 2016". ไมอามี รัฐฟลอริดา: ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 30 พฤษภาคม 2559.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ 10.0 10.1 Stacy R. Stewart (27 พฤษภาคม 2559). "Tropical Depression Two Public Advisory Number 1". ไมอามี รัฐฟลอริดา: ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 30 พฤษภาคม 2559.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ Stacy R. Stewart (28 พฤษภาคม 2559). "Tropical Storm Bonnie Public Advisory Number 5". ไมอามี รัฐฟลอริดา: ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 30 พฤษภาคม 2559.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ Stacy R. Stewart (29 พฤษภาคม 2559). "Tropical Storm Bonnie Public Advisory Number 7". ไมอามี รัฐฟลอริดา: ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 30 พฤษภาคม 2559.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ Daniel P. Brown; Todd B. Kimberlain (29 พฤษภาคม 2559). "Tropical Depression Bonnie Intermediate Advisory Number 7A". ไมอามี รัฐฟลอริดา: ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 30 พฤษภาคม 2559.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ Daniel P. Brown; Todd B. Kimberlain (29 พฤษภาคม 2559). "Tropical Depression Bonnie Tropical Cyclone Update". ไมอามี รัฐฟลอริดา: ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 30 พฤษภาคม 2559.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ Todd B. Kimberlain (29 พฤษภาคม 2559). "Post-Tropical Cyclone Bonnie Public Advisory Number 12". ไมอามี รัฐฟลอริดา: ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 30 พฤษภาคม 2559.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ Staff writer (28 พฤษภาคม 2559). "Flooding from TD Bonnie prompts closing of portion of I-95 in SC". The Charlotte Observer. สืบค้นเมื่อ 30 พฤษภาคม 2559.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ WECT Staff (31 พฤษภาคม 2559). "Body of missing swimmer found on Kure Beach". WECT News. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-01-14. สืบค้นเมื่อ 31 พฤษภาคม 2559.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ Godfrey, Georgiaree. "Jasper County feeling effects of Tropical Storm Bonnie". WTOC.com. สืบค้นเมื่อ 3 มิถุนายน 2559.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ John L. Beven (3 มิถุนายน 2559). "5-Day Tropical Weather Outlook 800 am EDT Fri Jun 3 2016". ไมอามี รัฐฟลอริดา: ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 7 มิถุนายน 2559.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ Daniel P. Brown (5 มิถุนายน 2559). "5-Day Tropical Weather Outlook 800 am EDT Sun Jun 5 2016". ไมอามี รัฐฟลอริดา: ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 7 มิถุนายน 2559.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ Daniel P. Brown (5 มิถุนายน 2559). "Tropical Depression Three Discussion Number 1". ไมอามี รัฐฟลอริดา: ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 7 มิถุนายน 2559.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ Daniel P. Brown (5 มิถุนายน 2559). "Tropical Storm Colin Public Advisory Number 2". ไมอามี รัฐฟลอริดา: ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 7 มิถุนายน 2559.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ Richard J. Pasch (5 มิถุนายน 2559). "Tropical Storm Colin Tropical Cyclone Update". ไมอามี รัฐฟลอริดา: ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 7 มิถุนายน 2559.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ Bob Henson (6 มิถุนายน 2559). "Tropical Storm Colin Becomes Earliest "C" Storm in Atlantic History". ซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย: Weather Underground. สืบค้นเมื่อ 7 มิถุนายน 2559.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ Todd B. Kimberlain (14 มิถุนายน 2559). "Five-Day Tropical Weather Outlook 800 PM EDT Tue Jun 14 2016". ไมอามี รัฐฟลอริดา: ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 21 มิถุนายน 2559.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ Tropical Cyclone Naming History and Retired Names. National Hurricane Center (Report). Miami, Florida: National Oceanic and Atmospheric Administration. April 11, 2013. สืบค้นเมื่อ April 22, 2013.