รายพระนามรัชทายาทรัสเซีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

อาณาจักรซาร์แห่งรัสเซีย[แก้]

ราชวงศ์รูริค[แก้]

รัชทายาท สถานะ ความสัมพันธ์ เริ่มดำรงตำแหน่ง เหตุผล พ้นจากตำแหน่ง เหตุผล รัชทายาทลำดับถัดไป ซาร์
ยูรี วาสิลีเยวิช ทายาทโดยสันนิษฐาน พระอนุชา 16 January 1547 พระประมุขสถาปนาตนเป็นซาร์ 11 October 1552 พระเจ้าซาร์มีพระราชโอรส วลาดีเมียร์แห่งสตาริตซา
1547–1552, พระญาติ
อีวานที่ 4
ซาเรวิชดิมิตรี อิวาโนวิช ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระราชโอรส 11 October 1552 ประสูติ 26 June 1553 ทิวงคต ยูรี วาสิลีเยวิช
1552–1553, พระปิตุลา
ยูรี วาสิลีเยวิช ทายาทโดยสันนิษฐาน พระอนุชา 26 June 1553 พระภาติยะทิวงคต 28 March 1554 พระเจ้าซาร์มีพระราชโอรส วลาดีเมียร์แห่งสตาริตซา
1553–1554, พระญาติ
ซาเรวิชอีวาน อิวาโนวิช ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระราชโอรส 28 March 1554 ประสูติ 19 November 1581 ทิวงคต ยูรี วาสิลีเยวิช
1554–1557, พระปิตุลา
ซาเรวิชเฟโอดอร์ อีวาโนวิช
1557–1581, พระอนุชา
ซาเรวิชเฟโอดอร์ อีวาโนวิช ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระราชโอรส 19 November 1581 พระเชษฐาทิวงคต 18 March 1584 เสวยราชย์ ไม่ชัดเจน
ซาเรวิชดิมิตรี อีวาโนวิช
1582–1591, พระอนุชา
ซาเรวิชดิมิตรี อีวาโนวิช ทายาทโดยสันนิษฐาน พระอนุชา 18 March 1584 พระเชษฐาเสวยราชย์ 15 May 1591 ทิวงคต ไม่ชัดเจน เฟโอดอร์ที่ 1
ไม่ชัดเจน 1591–1598

ช่วงปัญหา[แก้]

รัชทายาท สถานะ ความสัมพันธ์ เริ่มดำรงตำแหน่ง เหตุผล พ้นจากตำแหน่ง เหตุผล รัชทายาทลำดับถัดไป ซาร์
ซาเรวิชเฟโอเดอร์ บอริโซวิช โกดูนอฟ ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระราชโอรส 21 กุมภาพันธ์ 1598 พระราชบิดาเสวยราชย์ 13 เมษายน 1605 เสวยราชย์ ไม่ชัดเจน โบริส โกดูนอฟ
ดิมิตรี ซุยสกี้ ทายาทโดยสันนิษฐาน พระอนุชา 19 พฤษภาคม 1606 พระเชษฐาเสวยราชย์ 17 กรกฎาคม 1610 พระเชษฐาถูกถอดจากราชสมัติ อเล็กซานเดอร์ ซุยสกี้
1606–1610, พระอนุชา
วาสิลีที่ 4

ราชวงศ์โรมานอฟ[แก้]

รัชทายาท สถานะ ความสัมพันธ์ เริ่มดำรงตำแหน่ง เหตุผล พ้นจากตำแหน่ง เหตุผล รัชทายาทลำดับถัดไป ซาร์
อีวาน โรมานอฟ ทายาทโดยสันนิษฐาน พระปิตุลา 26 กรกฎาคม 1613 พระภาติยะเสวยราชย์ 9 มีนาคม 1629 พระเจ้าซาร์มีพระราชโอรส
นิกิตา โรมานอฟ
พระโอรส
มิฮาอิลที่ 1
ซาเรวิชอเล็กเซย์ มีไฮโลวิช ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระราชโอรส 9 มีนาคม 1629 ประสูติ 14 กรกฎาคม 1645 เสวยราชย์ อีวาน โรมานอฟ
1629–1633, พระอัยกา
ซาเรวิชอีวาน มีไฮโลวิช

1633-1639, พระอนุชา

อีวาน โรมานอฟ
1639, พระอัยกา
ซาเรวิชวาสิลี มีไฮโลวิช

1639, พระอนุชา

อีวาน โรมานอฟ
1639–1640, พระอัยกา

นิกิตา โรมานอฟ
1640–1645, พระญาติ

นิกิตา โรมานอฟ ทายาทโดยสันนิษฐาน พระญาติ 14 กรกฎาคม 1645 พระญาติเสวยราชย์ 22 สิงหาคม 1648 พระเจ้าซาร์มีพระราชโอรส ไม่ชัดเจน อเล็กเซย์ที่ 1
ซาเรวิชดิมิตรี อเล็กเซเยวิช ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระราชโอรส 22 สิงหาคม 1648 ประสูติ 6 ตุลาคม 1649 ทิวงคต
นิกิตา โรมานอฟ
1648–1649, พระญาติ
นิกิตา โรมานอฟ ทายาทโดยสันนิษฐาน พระญาติ 6 ตุลาคม 1649 ซาเรวิชทิวงคต 15 กุมภาพันธ์ 1654 พระเจ้าซาร์มีพระราชโอรส ไม่ชัดเจน
ซาเรวิชอเล็กเซย์ อเล็กเซเยวิช ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระราชโอรส 15 กุมภาพันธ์ 1654 ประสูติ 17 มกราคม 1670 ทิวงคต
นิกิตา โรมานอฟ
1654, พระญาติ
ไม่ชัดเจน

ซาเรวิชเฟโอดอร์ อเล็กเซเยวิช 1661–1670, พระอนุชา
ซาเรวิชเฟโอดอร์ อเล็กเซเยวิช ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระราชโอรส 17 มกราคม 1670 พระเชษฐาทิวงคต 29 มกราคม 1676 เสวยราชย์
ซาเรวิชอีวาน อเล็กเซเยวิช
1670–1676, พระอนุชา
ซาเรวิชอีวาน อเล็กเซเยวิช ทายาทโดยสันนิษฐาน พระอนุชา 29 มกราคม 1676 พระเชษฐาเสวยราชย์ 7 พฤษภาคม 1682 เสวยราชย์
ซาเรวิชปีเตอร์ อเล็กเซเยวิช
1676–1682, พระอนุชาต่างพระชนนี
เฟโอดอร์ที่ 3
ไม่ชัดเจน 1682–1690 อีวานที่ 5 และ ปีเตอร์ที่ 1 (ปกครองร่วม)
ซาเรวิชอเล็กเซย์ เปโตรวิช ทายาทโดยสันนิษฐาน

และมีสิทธิโดยตรง

พระภาติยะอีวานที่ 5 และพระราชโอรสในปีเตอร์ที่ 1 18 กุมภาพันธ์ 1690 ประสูติ 26 มิถุนายน 1718 ทิวงคต ไม่ชัดเจน

แกรนด์ดยุคอเล็กซานเดอร์ เปโตรวิช
1691–1692, พระอนุชา
ไม่ชัดเจน
ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระราชโอรส ปีเตอร์ที่ 1

แกรนด์ดยุคปีเตอร์ อเล็กเซเยวิช
1715–1718, พระโอรส
แกรนด์ดยุคปีเตอร์ อเล็กเซเยวิช ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระราชนัดดา 26 มิถุนายน 1718 พระบิดาทิวงคต 16 กุมภาพันธ์ 1722 กฎการสืบสันตติวงศ์เปลี่ยน
แกรนด์ดยุคปีเตอร์ เปโตรวิช
1718–1719, พระปิตุลา
ไม่ชัดเจน

จักรวรรดิรัสเซีย[แก้]

ราชวงศ์โรมานอฟ[แก้]

ตามพระบรมราชโองการในจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1[แก้]

ระหว่างช่วงที่จักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 มีพระบรมราชโองการว่าด้วยกฎการสืบพระราชสันตติวงศ์ใน วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 1722 ถึงพระบรมราชโองการของจักรพรรดิพอลที่ 1ในวันที่ 15 พฤษภาคม 1797, จักรพรรดิทรงมีสิทธิขาดในการสถาปนาองค์รัชทายาท รัชทายาทในยุคนี้ได้รับการแต่งตั้งโดยตรงจากจักรพรรดิหรือจักรพรรดินีที่เสวยราชสมบัติอยู่มากกว่าการได้สิทธิธรรมโดยพระราชมรดก แม้ว่าจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 จะทรงแก้กฎหมายเพื่อเปิดให้มีการเสนอพระนามรัชทายาทโดยจักรพรรดิ พระองค์และผู้สืบราชสมบัติต่อมาอีก 2 รัชกาลก็ไม่เคยมีการแต่งตั้งรัชทายาทอย่างเป็นทางการ จักรพรรดินีเอกาเทรินาที่ 1 จักรพรรดิปีเตอร์ที่ 2 และจักรพรรดินีแอนนาล้วนได้รับเลือกเป็นกรณีพิเศษหลังการสวรรคตของรัชกาลก่อนหน้า นอกจากนี้จักรพรรดิอีวานที่ 6 ผู้ไม่มีโอกาสสถาปนารัชทายาทถูกถอดจากราชสมบัติในการรัฐประหาร, ขณะที่จักรพรรดิปีเตอร์ที่ 3 ถูกถอดจากราชสมบัติและถูกปลงพระชนม์ในการรัฐประหารโดยพระชายาซึ่งต่อมาครองราชย์เป็นจักรพรรดินีเอกาเทรีนาที่ 2 โดยที่แกรนด์ดยุคพอลองค์รัชทายาทมิได้ขึ้นสืบราชสันตติวงศ์

รัชทายาท สถานะ ความสัมพันธ์ เริ่มดำรงตำแหน่ง เหตุผล พ้นจากตำแหน่ง เหตุผล จักรพรรดิ/จักรพรรดินี
แกรนด์ดยุคอีวาน อันโตโนวิช รัชทายาทโดยพระบรมราชโองการ พระราชนัดดา 5 ตุลาคม 1740 จักรพรรดินีสถาปนา 28 ตุลาคม 1740 เสวยราชย์ อันนา

แกรนด์ดยุคปีเตอร์ เฟโอโดโรวิช ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระภาคิไนย 18 พฤศจิกายน 1742 จักรพรรดินีสถาปนา 5 มกราคม 1762 เสวยราชย์ เอลิซาเบธ

แกรนด์ดยุคพอล เปโตรวิช ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระราชโอรส 7 มกราคม 1762 จักรพรรดิและจักรพรรดินีสถาปนา 17 พฤศจิกายน 1796 เสวยราชย์ ปีเตอร์ที่ 3 และ เอกาเทรีนาที่ 2

แกรนด์ดยุคอเล็กซานเดอร์ พาฟโลวิช ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระราชโอรส 28 พฤศจิกายน 1796 จักรพรรดินีสถาปนา 15 พฤษภาคม 1797 กฎการสืบสันตติวงศ์เปลี่ยน พอลที่ 1

ตามพระบรมราชโองการจักรพรรดิพอลที่ 1[แก้]

ค.ศ. 1797, จักรพรรดิพอลที่ 1 ทรงแก้กฎหมายว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์, เลิกพระบรมราชโองการของจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1 และประกาศกฎการสืบราชสันตติวงศ์ใหม่บนฐานของกฎหมายกึ่งแซลิกเฉพาะในสายของพระองค์ พระบรมราชโองการนี้มีผลทางกฎหมายจวบจนสิ้นราชวงศ์

รัชทายาท สถานะ ความสัมพันธ์ เริ่มดำรงตำแหน่ง เหตุผล พ้นจากตำแหน่ง เหตุผล รัชทายาทลำดับถัดไป จักรพรรดิ
ซาเรวิชอเล็กซานเดอร์ พาฟโลวิช ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระราชโอรส 15 พฤษภาคม 1797 กฎการสืบสันตติวงศ์เปลี่ยน 23 มีนาคม 1801 เสวยราชย์
แกรนด์ดยุคคอนสแตนติน พาฟโลวิช
, พระอนุชา
พอลที่ 1

ซาเรวิชคอนสแตนติน พาฟโลวิช ทายาทโดยสันนิษฐาน พระอนุชา 23 มีนาคม 1801 พระเชษฐาเสวยราชย์ 26 มกราคม 1822 สละสิทธิในการสืบราชสันตติวงศ์
แกรนด์ดยุคนิโคลัส พาฟโลวิช, พระอนุชา
อเล็กซานเดอร์ที่ 1

แกรนด์ดยุคนิโคลัส พาฟโลวิช ทายาทโดยสันนิษฐาน พระอนุชา 26 มกราคม 1822 พระเชษฐาสละสิทธิในการสืบราชสันตติวงศ์ 1 ธันวาคม 1825 เสวยราชย์
แกรนด์ดยุคอเล็กซานเดอร์ นิโคเลวิช, พระโอรส
ซาเรวิชอเล็กซานเดอร์ นิโคเลวิช ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระราชโอรส 1 ธันวาคม 1825 พระราชบิดาเสวยราชย์ 2 มีนาคม 1855 เสวยราชย์
แกรนด์ดยุคไมเคิล พาฟโลวิช 1825–1827, พระปิตุลา
นิโคลัสที่ 1


แกรนด์ดยุคคอนสแตนติน นิโคเลวิช 1827–1843, พระอนุชา

แกรนด์ดยุคนิโคลัส อเล็กซานโดรวิช 1843–1855, พระโอรส
ซาเรวิชนิโคลัส อเล็กซานโดรวิช ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระราชโอรส 2 มีนาคม 1855 พระราชบิดาเสวยราชย์ 24 เมษายน 1865 ทิวงคต
แกรนด์ดยุคอเล็กซานเดอร์ อเล็กซานโดรวิช, พระอนุชา
อเล็กซานเดอร์ที่ 2

ซาเรวิชอเล็กซานเดอร์ อเล็กซานโดรวิช ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระราชโอรส 24 เมษายน 1865 พระเชษฐาทิวงคต 13 มีนาคม 1881 เสวยราชย์
แกรนด์ดยุควลาดิเมียร์ อเล็กซานโดรวิช 1865–1868, พระอนุชา

แกรนด์ดยุคนิโคลัส อเล็กซานโดรวิช 1868–1881, พระโอรส
ซาเรวิชนิโคลัส อเล็กซานโดรวิช ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระราชโอรส 13 มีนาคม 1881 พระราชบิดาเสวยราชย์ 1 พฤศจิกายน 1894 เสวยราชย์
แกรนด์ดยุคจอร์จ อเล็กซานโดรวิช, พระอนุชา
อเล็กซานเดอร์ที่ 3

แกรนด์ดยุคจอร์จ อเล็กซานโดรวิช ทายาทโดยสันนิษฐาน พระอนุชา 1 พฤศจิกายน 1894 พระเชษฐาเสวยราชย์ 10 กรกฎาคม 1899 ทิวงคต
แกรนด์ดยุคมิฮาอิล อเล็กซานโดรวิช, พระอนุชา
นิโคลัสที่ 2

แกรนด์ดยุคมิฮาอิล อเล็กซานโดรวิช ทายาทโดยสันนิษฐาน พระอนุชา 10 กรกฎาคม 1899 พระเชษฐาทิวงคต 12 สิงหาคม 1904 จักรพรรดิมีพระราชโอรส
แกรนด์ดยุควลาดิเมียร์ อเล็กซานโดรวิช, พระปิตุลา
ซาเรวิชอเล็กเซย์ นิโคเลวิช ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระราชโอรส 12 สิงหาคม 1904 ประสูติ 15 มีนาคม 1917 ราชาธิปไตยถูกล้มเลิก
แกรนด์ดยุคมิฮาอิล อเล็กซานโดรวิช, พระปิตุลา

ดูเพิ่ม[แก้]