รายพระนามพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

นี่คือรายพระนาม พระมหากษัตริย์ที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลก ตามประมาณโดยวารสาร CEOWORLD ใน ค.ศ. 2019[1] และ Business Insider ใน ค.ศ. 2018[2] ตามมูลค่าสินทรัพย์สุทธิส่วนพระองค์ โดยไม่นับรวมทรัพย์สินอันเป็นของรัฐหรือรัฐบาล ในหน่วยเงินดอลลาร์สหรัฐ

อันดับ พระนาม พระราชอิสริยยศ ประเทศ มูลค่าพระราชทรัพย์สุทธิ แหล่งที่มาของพระราชทรัพย์
1 พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ไทย  ไทย &00000430000000000000004.5 หมื่นล้านดอลลาร์[1]  [2] การลงทุนจากสำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์
2 สมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านฮัสซานัล โบลเกียห์ สุลต่านบรูไน ธงของประเทศบรูไนดารุสซาลาม บรูไน &00000280000000000000002.8 [1]   หมื่นล้านดอลลาร์[2] รายได้จากอุตสาหกรรมน้ำมันและแก๊ส
3 สมเด็จพระราชาธิบดีซัลมาน บิน อับดุลอะซีซ อาล ซะอูด พระมหากษัตริย์ซาอุดีอาระเบีย ธงของประเทศซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย &0000018000000000000000 1.8 หมื่นล้านดอลลาร์[1][2] รายได้จากอุตสาหกรรมน้ำมัน
4 เคาะลีฟะฮ์ บิน ซายิด อัลนะฮ์ยาน ประธานาธิบดีสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
เอมีร์แห่งอาบูดาบี
ธงของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ &0000015000000000000000 1.5 หมื่นล้านดอลลาร์[1][2] การลงทุนของสำนักงานลงทุนแห่งอาบูดาบี
5 สมเด็จพระราชาธิบดีมุฮัมมัดที่ 6 พระมหากษัตริย์โมร็อกโก ธงของประเทศโมร็อกโก โมร็อกโก &0000008200000000000000 8.2 พันล้านดอลลาร์ [1] [2] การลงทุนในSNIกับซีเกอร์
6 เจ้าชายฮันส์-อาดัมที่ 2 เจ้าชายแห่งลิกเตนสไตน์ ธงของประเทศลีชเทินชไตน์ ลีชเทินชไตน์ &0000007200000000000000 7.2 พันล้านดอลลาร์[1]  [2] มีหุ้นในมูลนิธิเจ้าชายแห่งลิกเตนสไตน์
7 มุฮัมมัด บิน รอชิด อัลมักตูม นายกรัฐมนตรีสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
เอมีร์เชคแห่งดูไบ
ธงของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ &0000004000000000000000 4 พันล้านดอลลาร์[1][2] มีหุ้นส่วนใหญ่ในดูไบโฮลดิงและการลงทุนจากสำนักงานลงทุนแห่งอาบูดาบี
8 แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก แกรนด์ดยุกแห่งลักเซมเบิร์ก ธงของประเทศลักเซมเบิร์ก ลักเซมเบิร์ก &0000004000000000000000 4 พันล้านดอลลาร์[1][2]
9 สมเด็จพระราชาธิบดีฆวน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน พระมหากษัตริย์สเปน (สละราชสมบัติใน ค.ศ. 2014) ธงของประเทศสเปน สเปน &0000002300000000000000 2.3 พันล้านดอลลาร์[3][4] น้ำมัน[5][6], บริษัท และภาษีอสังหาริมทรัพย์ ปัจจุบันมีปัญหาเกี่ยวกับเงินที่ปกปิดอยู่ในธนาคารต่างประเทศกับเงินที่ได้จากประเทศซาอุดีอาระเบียไป 100 ล้านดอลลาร์สหรัฐ[7]
10 สมเด็จพระราชาธิบดีชาลส์ที่ 3 พระราชาธิบดีแห่งสหราชอาณาจักรและราชอาณาจักรเครือจักรภพ  สหราชอาณาจักร &0000000420000000000000 2.2 พันล้านดอลลาร์[1][8] จากสินทรัพย์, เครื่องเพชร และอื่น ๆ ดูการคลังของราชวงศ์อังกฤษ
11 ตะมีม บิน ฮะมัด อัษษานี เอมีร์แห่งกาตาร์ ธงของประเทศกาตาร์ กาตาร์ &0000002100000000000000 2.1 พันล้านดอลลาร์[1]  [2] ธุรกิจหลายอย่าง
12 เจ้าชายอาลแบร์ที่ 2 องค์อธิปัตย์แห่งโมนาโก  โมนาโก &0000001000000000000000 1.0 พันล้านดอลลาร์[1][2] ธุรกิจหลายอย่าง รวมไปถึงSociété des bains de mer de Monacoและกาสิโน
13 สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์ พระราชินีแห่งเนเธอร์แลนด์ (สละราชสมบัติใน ค.ศ. 2013) ธงของประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ &0000000200000000000000 200 ล้านดอลลาร์[2] ภาษีอสังหาริมทรัพย์, การลงทุน และเดิมพันกับรอยัลดัตช์เชลล์

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.00 1.01 1.02 1.03 1.04 1.05 1.06 1.07 1.08 1.09 1.10 1.11 "These Are The World’s Richest Royals เก็บถาวร 2020-05-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน", 2019 CEO World. 18 September 2019.
  2. 2.00 2.01 2.02 2.03 2.04 2.05 2.06 2.07 2.08 2.09 2.10 2.11 "Meet the 10 richest billionaire royals in the world right now เก็บถาวร 2020-05-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน", 2018 Business Insider. May 2018.
  3. Paradinas, Marcos. "Las redes se hacen eco de la fortuna del Rey, estimada en 2 mil millones de euros según la prensa extranjera". El Plural. El Pural. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 July 2019. สืบค้นเมื่อ 25 May 2020.
  4. "NYT: el Rey llegó al trono casi sin dinero; su fortuna supera los 2.300 millones". Bolsamania. Bolsamania. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 November 2015. สืบค้นเมื่อ 25 May 2020.
  5. A, D. "La fortuna del rey Juan Carlos se debe a una comisión por cada barril de petróleo". El Plural. El Plural. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 July 2020. สืบค้นเมื่อ 25 May 2020.
  6. Villanueva, Marc. "Peñafiel destroza al rey: cobra comisión por cada barril de petróleo saudí". El Nacional. El Nacional. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 March 2020. สืบค้นเมื่อ 25 May 2020.
  7. Irujo, Jose Maria. "Adel al-Jubeir, the Saudi diplomat who endorsed the $100m donation to Spain's King Juan Carlos". El Pais. El Pais. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 June 2020. สืบค้นเมื่อ 25 May 2020.
  8. Pegg, David. "Revealed: King Charles's private fortune estimated at £1.8bn". The Guardian. Guardian Media Group. OCLC 60623878. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 April 2023. สืบค้นเมื่อ 20 April 2023.