รายพระนามผู้ปกครองวอลเลเกีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

รายพระนาม[แก้]

ราชวงศ์บาซารับ[แก้]

พระนาม พระบรมสาทิสลักษณ์ รัชกาล ราชสกุล หมายเหตุ
โทโคเมอเรียส หรือ ราดู เนกรู c. 1280 – 1310 ราดู เนกรูคือประมุขในตำนานของวอลเลเกีย; นักประวัติศาสตร์สันนิษฐานว่าน่าจะเป็นพระนามลำลองใน โทโคเมอเรียส หรือ บาซารับที่ 1
บาซารับที่ 1 c. 1310 – 1352 ราชวงศ์บาซารับ พระโอรสในเจ้าชายโทโคเมอเรียส เป็นผู้ปกครองที่มิใช่ตำนานพระองค์แรก; ภายหลังได้สมัญญาว่า Basarab Întemeietorul (บาซารับผู้สถาปนา);
นิโคเล อเล็กซานดรู 1352–1364 ราชวงศ์บาซารับ พระราชโอรสในเจ้าชายบาซารับที่ 1
วลาติสลาฟที่ 1 c. 1364 – 1377 ราชวงศ์บาซารับ พระราชโอรส; also known as Vlaicu-Vodă
ราดูที่ 1 c. 1377 – 1383 ราชวงศ์บาซารับ พระอนุชา
แดนที่ 1 c. 1383 – 1386 ราชสกุลดาเนสติ พระราชโอรส
มีร์เซียที่ 1
(มีร์เซียผู้อาวุโส)
1386–1394 ราชวงศ์บาซารับ พระอนุชา. รัชกาลแรก
วลาดที่ 1
(วลาดที่ 1 ผู้ชิงราชสมบัติ)
1394–1397 พระโอรสในเจ้าชายแดนที่ 1
มีร์เซียที่ 1
(Mircea I the Old)
1397–1418 ราชวงศ์บาซารับ รัชกาลที่ 2
ไมไฮที่ 1 1418–1420 ราชวงศ์บาซารับ พระโอรสในเจ้าชายมีร์เซียที่ 1
แดนที่ 2 1420–1421 ราชสกุลดาเนสติ พระโอรสในเจ้าชายแดนที่ 1, สมาชิกภาคีมังกร; รัชกาลแรก
ราดูที่ 2 เซลดู
(Radu II the Bald)
1421 ราชวงศ์บาซารับ โอรสมีร์เซีย เซล เบตรัน; รัชกาลแรก
แดนที่ 2 1421–1423 ราชสกุลดาเนสติ รัชกาลที่ 2
ราดูที่ 2 เซลดู 1423 Basarab รัชกาลที่ 2
แดนที่ 2 1423–1424 ราชสกุลดาเนสติ รัชกาลที่ 3
ราดูที่ 2 เซลดู 1424–1426 Basarab รัชกาลที่ 3
แดนที่ 2 1426–1427 ราชสกุลดาเนสติ รัชกาลที่ 4
ราดูที่ 2 เซลดู 1427 Basarab รัชกาลที่ 4
แดนที่ 2 1427–1431 ราชสกุลดาเนสติ รัชกาลที่ 5
อเล็กซานดรูที่ 1 1431–1436 ราชสกุลดรากุเลสติ โอรสมีร์เซีย เซล เบตรัน
วลาดที่ 2 ดรากุล 1436–1442 ราชสกุลดรากุเลสติ พระโอรสนอกกฎหมายในเจ้าชายมีร์เซียที่ 1; สมาชิกภาคีมังกร (ดรากุล); รัชกาลแรก
มีร์เซียที่ 2 1442 ราชสกุลดรากุเลสติ พระโอรสในเจ้าชายวลาดที่ 2 ดรากุล
บาซารับที่ 2 1442–1443 ราชสกุลดาเนสติ พระโอรสในเจ้าชายแดนที่ 2
วลาดที่ 2 ดรากุล 1443–1447 ราชสกุลดรากุเลสติ รัชกาลที่ 2
วลาดิสลาฟที่ 2 1447–1448 ราชสกุลดาเนสติ พระโอรสในเจ้าชายแดนที่ 2; สนับสุนโดยยาโนส ฮุนยาดี ผู้สำเร็จราชการฮังการี; รัชกาลแรก
วาดที่ 3 ดรากูล่า
(วลาดนักเสียบ)
1448 ราชสกุลดรากุเลสติ พระโอรสในเจ้าชายวลาดที่ 2 ดรากุล; รัชกาลแรก
วลาดิสลาฟที่ 2 1448–1456 ราชสกุลดาเนสติ รัชกาลที่ 2
วาดที่ 3 ดรากูล่า 1456–1462 ราชสกุลดรากุเลสติ รัชกาลที่ 2
ราดูที่ 3 เซล ฟรูมอส
(Radu III the Fair)
1462–1473 ราชสกุลดรากุเลสติ พระโอรสในเจ้าชายวลาดที่ 2 ดรากุล; รัชกาลแรก
บาซารับที่ 3
(Basarab III Laiotă the Elder)
1473 ราชสกุลดาเนสติ พระโอรสในเจ้าชายแดนที่ 2; รัชกาลแรก
ราดูที่ 3 เซล ฟรูมอส 1473–1474 ราชสกุลดรากุเลสติ รัชกาลที่ 2
บาซารับที่ 3 1474 ราชสกุลดาเนสติ รัชกาลที่ 2
ราดูที่ 3 เซล ฟรูมอส 1474 ราชสกุลดรากุเลสติ รัชกาลที่ 3
บาซารับที่ 3 1474 ราชสกุลดาเนสติ รัชกาลที่ 3
ราดูที่ 3 เซล ฟรูมอส 1474–1475 ราชสกุลดรากุเลสติ รัชกาลที่ 4
บาซารับที่ 3 1475–1476 ราชสกุลดาเนสติ รัชกาลที่ 4
วลาดที่ 3 ดรากูล่า 1476 ราชสกุลดรากุเลสติ รัชกาลที่ 3
บาซารับที่ 3 1476–1477 ราชสกุลดาเนสติ รัชกาลที่ 5
บาซารับที่ 4
(Basarab IV Țepeluș the Younger)
1477–1481 ราชสกุลดาเนสติ พระโอรสในเจ้าชายบาซารับที่ 2; รัชกาลแรก
มีร์เซีย 1481 พระโอรสนอกกฎหมายในเจ้าชายวลาดที่ 2 ดรากุล
วลาดที่ 4 กาลูการูล
(Vlad IV the Monk)
1481 ราชสกุลดรากุเลสติ พระโอรสเจ้าชายวลาดที่ 2 ดรากุล; รัชกาลแรก
บาซารับที่ 4 1481–1482 Dănești รัชกาลที่ 2
วลาดที่ 4 กาลูการูล 1482–1495 ราชสกุลดรากุเลสติ รัชกาลที่ 2
ราดูที่ 4 เซล มาเรล
(Radu IV the Great)
1495–1508 ราชสกุลดรากุเลสติ พระโอรสในเจ้าชายวลาดที่ 4 กาลูการูล
มีห์เนีย เซล ราอูล
(Mihnea the Mean)
1508–1509 ราชสกุลดรากุเลสติ พระโอรสในเจ้าชายวลาดที่ 3 เตเปส
มีร์เซียที่ 2 1509–1510 ราชสกุลดรากุเลสติ พระโอรสในเจ้าชายมีห์เนีย เซล ราอูล
วลาดที่ 5 เซล ตานาร์
(Vlad V the Younger)
1510–1512 ราชสกุลดรากุเลสติ พระโอรสในเจ้าชายวลาด กาลูการูล; also known as Vlăduț
บาซารับที่ 5 1512–1521 ราชสกุลไครโอเวสติ โอรสใน ปาร์วู ไครโอเวสกู
เธโอโดซี 1521–1522 ราชสกุลไครโอเวสติ ภายใต้การสำเร็จราชการของพระชนนี เดสปินา เอลีนา
ราดูที่ 5 1522–1523 ราชสกุลดรากุเลสติ พระโอรสนอกสมรสใน ราดู เซล มาเร; เป็นพันธมิตรกับพวกไครโอเวสติ; รัชกาลแรก
วลาดิสลาฟที่ 3 1523 Dănești พระภาคิไนยในเจ้าชายวลาติสลาฟที่ 2; รัชกาลแรก
ราดูที่ 6 บาดิกาล 1523–1524 ราชสกุลดรากุเลสติ พระโอรสในเจ้าชาย ราดูที่ 4 มหาราช
ราดูที่ 5 1524 Drăculești รัชกาลที่ 2
วลาดิสลาฟที่ 5 1524 ราชสกุลดาเนสติ รัชกาลที่ 2
ราดูที่ 5 1524–1525 ราชสกุลดรากุเลสติ รัชกาลที่ 3
วลาดิสลาฟที่ 3 1525 ราชสกุลดรากุเลสติ รัชกาลที่ 3
ราดูที่ 5 1525–1529 ราชสกุลดรากุเลสติ รัชกาลที่ 4
บาซารับที่ 6 1529 โอรสเมห์เหม็ด เบย์
มัวเซ 1529–1530 ราชสกุลดาเนสติ พระโอรสในเจ้าชายวลาติสลาฟที่ 3
วลาดที่ 6 อิเนกาตุล
(Vlad VI the Drowned)
1530–1532 ราชสกุลดรากุเลสติ พระโอรสในเจ้าชายวลาด เซล ตานาร์
วลาดที่ 7 วินติลา เดอ ลา สลาตินา 1532–1535 ราชสกุลดรากุเลสติ พระโอรสในเจ้าชายราดู เซล มาเรล
ราดูที่ 7 ไปซี 1535–1545 ราชสกุลดรากุเลสติ พระโอรสในวลาด วินติลา เด ลา สลาตินา
มีร์เซียที่ 4 ซีโอบานุล
(Mircea IV the Shepherd)
1545–1552 ราชสกุลดรากุเลสติ พระโอรสในเจ้าชายราดู เซล มาเรล; รัชกาลแรก
ราดูที่ 8 อิลี ไฮดาอุล
(Radu VIII Ilie the Cowherd)
1552–1553 ราชสกุลดรากุเลสติ พระโอรสในราดู เด ลา อาฟูมาตี
มีร์เซียที่ 4 ซีโอบานุล 1553–1554 ราชสกุลดรากุเลสติ รัชกาลที่ 2
ปาตราสกู เซล บัน
(Pătrașcu the Kind)
1554–1558 ราชสกุลดรากุเลสติ พระโอรสในราดู ไปซี
มีร์เซียที่ 4 ซีโอบานุล 1558–1559 ราชสกุลดรากุเลสติ รัชกาลที่ 3
ชิอัจนาแห่งมอลเดเวีย
(Regent)
1559-1564 Regent on behalf of her son.
เปตรูที่ 1 เซล ทานาร์
(Peter I the Younger)
1564–1568 ราชสกุลดรากุเลสติ son of Mircea Ciobanul
อเล็กซานดรูที่ 2 มีร์เซีย 1568–1574 ราชสกุลดรากุเลสติ son of Mircea III Dracul; popularly called Oaie Seacă (Barren Sheep); รัชกาลที่ 1
วินติลา 1574 ราชสกุลดรากุเลสติ พระโอรสในเปตรู ปาตราสกู เซล บัน
อเล็กซานดรูที่ 2 มีร์เซีย 1574–1577 ราชสกุลดรากุเลสติ รัชกาลที่ 2
แคทเธอรีน ซัลวาเรสโซ
(สำเร็จราชการ)
1577-1583 Regent on behalf of her son, Mihnea II. Deposed by Peter II.
เปตรูที่ 2 เซอร์เซล
(Peter II Earring)
1583–1585 ราชสกุลดรากุเลสติ พระโอรสในเปตรู ปาตราสกู เซล บัน
มีห์เนียที่ 2 ตูร์ซิตุล 1585–1591 ราชสกุลดรากุเลสติ Paid for the assassination of his usurper. Returned and ruled alone.

ราชวงศ์บอกดาน มูสาต[แก้]

พระนาม พระบรมสาทิสลักษณ์ รัชกาล ราชสกุล หมายเหตุ
สตีเฟนที่ 1 ซูร์ดุล
(Stephen the Deaf)
1591–1592
อเล็กซานดรูที่ 3 เซล ราอู
(Alexander III the Mean)
1592–1593 ยังคงปกครองมอลดาเวียร่วมด้วย (1592)

ราชวงศ์ บาซารับ และ โมวิเลสติ[แก้]

พระนาม พระบรมสาทิสลักษณ์ รัชกาล ราชสกุล หมายเหตุ
ไมไฮที่ 2 วิเตอาซูล
(Michael II the Brave)
1593–1600 ราชสกุลดรากุเลสติ พระโอรสนอกสมรสในเปตรู ปาตราสกู เซล บัน; ทรงปกครองทรานซิลเวเนีย (1599-1600) และ มอลดาเวีย (1600), ทรงปรารถนาอย่างแรงกล้าที่จะรวม 3 ราชรัฐ
นิโกเล ปาตราสกู 1599–1600 ราชสกุลดรากุเลสติ พระโอรสในไมไฮที่ 2, ปกครองร่วมกับพระบิดาตั้งแต่ 1599
ซิมอน โมวิลา 1600–1601 ราชสกุลโมวิเลสติ รัชกาลแรก
ราดูที่ 9 มีห์เนีย 1601–1602 ราชสกุลดรากุเลสติ พระโอรสในมีห์เนียที่ 2 ตูร์ซิตุล; รัชกาลแรก
ซิมอน โมวิลา 1602 ราชสกุลโมวิเลสติ รัชกาลที่ 2
ราดูที่ 10 เซอร์บาน 1602–1610 พระภาคิไนยในเนโก บาซารับที่ 5, รัชกาลแรก
Transylvanian occupation: direct rule of กาเบรียล บาโธรี (1611)
ราดูที่ 9 มีห์เนีย 1611 ราชสกุลดรากุเลสติ รัชกาลที่ 2
ราดูที่ 10 เซอร์บาน 1611 รัชกาลที่ 2
ราดูที่ 9 มีห์เนีย 1611–1616 ราชสกุลดรากุเลสติ รัชกาลที่ 3
กาเบรียล โมวิลา 1616 ราชสกุลโมวิเลสติ พระโอรสในไซมอน โมวิลา; รัชกาลแรก

หลายราชวงศ์[แก้]

พระนาม พระรูป รัชสมัย ราชวงศ์/ตระกูล หมายเหตุ
อเล็กซานดรูที่ 4 อิลิอัส 1616–1618 รัชกาลแรก
กาเบรียลที่ 2 โมวิลา 1618–1620 ราชสกุลโมวิเลสติ รัชกาลที่ 2
ราดูที่ 9 มีห์เนีย 1620–1623 ราชสกุลดรากุเลสติ รัชกาลที่ 4
อเล็กซานดรูที่ 5 โกโกนุลl
(Alexander the Child-Prince)
1623–1627 ราชสกุลดรากุเลสติ พระโอรส
อเล็กซานดรูที่ 4 อิลิอัส 1627–1629 ราชสกุลโมวิเลสติ รัชกาลที่ 2
เลออน ทอมซา 1629–1632
ราดูที่ 11 อิลิอัส 1632
มาเต บาซารับ 1632–1654 ราชวงศ์บรันโคนิเวสติ
คอนสแตนตินที่ 1 เซอร์บัน 1654–1658 พระโอรสนอกกฎหมายในเจ้าชายราดู เซอร์บาน
มีห์เนียที่ 3 1658–1659
จอร์จที่ 1 จิกา 1659–1660 ตระกูลจิกา
กริกอร์ที่ 1 จิกา 1660–1664 ตระกูลจิกา รัชกาลแรก
ราดูที่ 12 เลออน 1664–1669
อันโตนี โวดา ดีน โปเปสติ 1669–1672
กริกอร์ที่ 1 จิกา 1672–1673 ตระกูลจิกา รัชกาลที่ 2
จอร์จที่ 2 ดูกัส 1673–1678
เซอร์บาน กันตากูซิโน 1678–1688 ตระกูลกันตากูแซน
คอนสแตนตินที่ 2 บรันโกเวอานู 1688–1714 ราชวงศ์บรันโคนิเวสติ
สเตฟานที่ 2 กันตากูซิโน 1714–1715 ตระกูลกันตากูแซน
ภายใต้ พานาริโอต (1715–1821)
นิโกเล มาโวรโคดัต 1715–1716 ตระกูลมาโวรคอร์ดาโต รัชกาลแรก
- ภายใต้ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 1716
ยอน มาโวรโคดัต 1716–1719 ตระกูลมาโวรคอร์ดาโต
นิโกเล มาโวรโคดัต 1719–1730 ตระกูลมาโวรคอร์ดาโต รัชกาลที่ 2
คอนสแตนติน มาโวรคอร์ดาโต 1730 ตระกูลมาโวรคอร์ดาโต รัชกาลแรก
ไมไฮ ราโกวิตา 1730–1731 ตระกูลราโกวิตา รัชกาลแรก
คอนสแตนติน มาโวรคอร์ดาโต 1731–1733 ตระกูลมาโวรคอร์ดาโต รัชกาลที่ 2
กริกอร์ที่ 2 จิกา 1733–1735 ตระกูลจิกา รัชกาลแรก
คอนสแตนติน มาโวรคอร์ดาโต 1735–1741 ตระกูลมาโวรคอร์ดาโต รัชกาลที่ 3
มีไฮ ราโกวิตา 1741–1744 ตระกูลราโกวิตา รัชกาลที่ 2
คอนสแตนติน มาโวรคอร์ดาโต 1744–1748 ตระกูลมาโวรคอร์ดาโต รัชกาลที่ 4
กริกอร์ที่ 2 จิกา 1748–1752 ตระกูลจิกา รัชกาลที่ 2
มาเต จิกา 1752–1753 ตระกูลจิกา
คอนสแตนติน ราโกวิตา 1753–1756 รัชกาลแรก
คอนสแตนติน มาโวรคอร์ดาโต 1756–1758 ตระกูลมาโวรคอร์ดาโต รัชกาลที่ 5
สการ์ลัต จิกา 1758–1761 ตระกูลจิกา รัชกาลแรก
คอนสแตนติน มาโวรคอร์ดาโต 1761–1763 ตระกูลมาโวรคอร์ดาโต รัชกาลที่ 6
คอนสแตนติน ราโกวิตา 1763–1764 ตระกูลราโกวิตา รัชกาลที่ 2
สเตฟาน ราโกวิตา 1764–1765 ตระกูลราโกวิตา
สการ์ลัต จิกา 1765–1766 ตระกูลจิกา รัชกาลที่ 2
อเล็กซานดรู จิกา 1766–1768 ตระกูลจิกา
- ภายใต้จักรวรรดิรัสเซีย 1768
กริกอร์ที่ 3 จิกา 1768–1769 ตระกูลจิกา
- ภายใต้จักรวรรดิรัสเซีย 1769–1770
เอมานูเอล เจียนิ รูเซต 1770-1771 ตระกูลโรเซตติ บางได้รับสมัญญาว่า มาโนเล หรืแ มาโนลาเช
อเล็กซานเดอร์ ยิปซิลันติส 1774–1782 ตระกูลยิปซิลันติ รัชกาลแรก
นิโกเล คาราเจีย 1782–1783 ตระกูลคาราเจีย
ไมไฮ ซูตู 1783–1786 ตระกูลซูต์โซส รัชกาลแรก
นิโกเล มาโวรเจนิ 1786–1789 ตระกูลมาโวรเจนิ
- ภายใต้ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก 1789–1790 ผู้นำกองทัพเจ้าชายโจเซียสแห่งแซ็กซ์-โคบูร์ก
ไมไฮ ซูตู 1791–1793 ตระกูลซูต์โซส รัชกาลที่ 2
อเล็กซานดรู มอรูซี 1793–1796 ตระกูลมูรูซี รัชกาลแรก
อเล็กซานเดอร์ ยิปซิลันติส 1796–1797 ตระกูลยิปซิลันติ รัชกาลที่ 2
คอนสแตนติน ฮังเกอร์ลี 1797–1799 ตระกูลฮังเกอร์ลิ
อเล็กซานดรู มอรูซี 1799–1801 ตระกูลมูรูซี รัชกาลที่ 2
ไมไฮ ซูตู 1801–1802 ตระกูลซูต์โซส รัชกาลที่ 3
อเล็กซานดรู ซูตู 1802 ตระกูลซูต์โซส
คอนสแตนติน ยิปซิลันติส 1802-1806 ตระกูลยิปซิลันติ
- ภายใต้จักรวรรดิรัสเซีย 1806–1812
ยอน จอร์จ คาราเจีย 1812–1818 ตระกูลคาราเจีย
ไคมาคาม
กริกอร์ บรันโกเวนู
1818 ได้รับการสนับสนุนโดยวอร์นิก บาร์บู วากาเรสกู, วิสิเทียร์ กริกอร์ จิกา และ ลาโกฟาต ซามูร์กัส
อเล็กซานดรู ซูตู 1818–1821 ตระกูลซูต์โซส
ไคมาคาม
กริกอร์ บรันโกเวอานู
1821
ทิวดอร์ วลาดิมิเรสกู 1821 ผู้นำกบฏต่อต้านพานาริโอต
สการ์ลัต กาลิมาจี 1821 ตระกูลกาลิมาจี
กริกอรีที่ 4 จิกา 1822–1828 ตระกูลจิกา
- ภายใต้จักรวรรดิรัสเซีย 1828–1834 ผู้นำกองทัพ: ฟีโอดอร์ ปาห๋เลน, พียอตร์ เซลตูกินและพาเวล กิเซเลฟฟ์
Organic Statute government (1832–1856)
อเล็กซานดรูที่ 2 จิกา 1834–1842 ตระกูลจิกา
เกรกอรี บิเบสกู 1842–1848 ตระกูลบิเบสกู
รัฐบาลชั่วคราว 1848 มุขนายก เนโอฟิตที่ 2, ได้รับการสนับสนุนโดยคริสเตียน เทลล์, เอียน เฮเลียด ราดูเลสกู, สเตฟาน โกเลสกู, จอร์จ แมกเอรู, จอร์จ สกูร์ตี
โลโตเตเนนตา โดมเนอัสกา
(ผู้สำเร็จราชการทั้ง 3)
1848 คริสเตียน เทลล์, เอียน เฮเลียด ราดูเลสกู, นิโกเล โกเลสกู
จักวรรดิออตโตมันกับจักรวรรดิรัสเซียปกครองร่วมกัน 1848–1851 ผู้นำกองทัพ: โอมัร ปาชากับอเล็กซานเดอร์ ฟอน ลือเดอร์
ไคมาคาม
คอนสแตนติน คันตากูซิโน
1848 ตระกูลกันตากูแซน
บาร์บู สตริเบย์ 1848–1853 ตระกูลสตรีรเบย์ รัชกาลแรก
ภายใต้จักรวรรดิรัสเซีย 1853–1854
ภายต้จักรวรรดิออตโตมัน 1854
ภายใต้จักรวรรดิออสเตรีย 1854–1856 ผู้นำกองทัพ: โยฮัน โคโรนินี-ครอนเบิร์ก
บาร์บู สตริเบย์ 1854–1856 ตระกูลสตรีรเบย์ รัชกาลที่ 2
รัฐอารักขาสถาปนาตามสนธิสัญญาปารีส (1856–1859)
ไคมาคาม
อเล็กซานดรูที่ 2 จิกา
1856–1858 ตระกูลจิกา
ไคมาคามทั้งสาม 1858–1859 เอียน มานู, เอมาโนอิล บาเลอานู, เอียน อา ฟิลิปิเด
อเล็กซานเดอร์ จอห์น คูซา 1859–1862 ราชวงศ์คูซา ยังคงปกครองมอลดาเวียในสหภาพส่วนตน
สหราชรัฐวอลเลเกียและมอลดาเวีย ตั้งแต่ 1862.
อเล็กซานเดอร์ จอห์น คูซา 1862–1866 ราชวงศ์คูซา ยังคงปกครองมอลดาเวียในสหภาพส่วนตน
คาโรลที่ 1 1866–1881 ราชวงศ์โฮเฮนโซเลิร์น แซกมาริงเงิน A รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ประกาศใช้ในค.ศ. 1866 ให้ประเทศมีชื่อทางการใหม่ว่า โรมาเนีย, และในวันที่ 14 มีนาคม (O.S.) (26 มีนาคม)ค.ศ. 1881, จึงเป็นราชอาณาจักรโรมาเนีย

ประมุขแห่งรัฐถัดจากนี้ ให้ดูเพิ่มที่ รายพระนามพระมหากษัตริย์โรมาเนีย.