รายพระนามผู้ปกครองตอสคานา
หน้านี้มีเนื้อหาเป็นภาษาต่างประเทศ คุณสามารถช่วยพัฒนาหน้านี้ได้ด้วยการแปล ยกเว้นหากเนื้อหาเกือบทั้งหมดไม่ใช่ภาษาไทย ให้แจ้งลบแทน |
ผู้ปกครองแห่งตอสกานา (ทัสคานี) แตกต่างกันไปตามยุคสมัย, บางยุคเป็นมาร์การ์ฟ, ผู้ปกครองของมณฑลชายแดนไม่กี่แห่ง บางยุคก็เป็นหัวหน้าตระกูลที่มีบทบาทในภูมิภาค
มาร์เกรฟแห่งตอสกานา, 812–1197[แก้]
ราชวงศ์โบนิเฟซ[แก้]
- เดิมเป็นเคานต์แห่งลุกกาซึ่งมีอำนาจเหนือดินแดนข้างเคียง
- โบนิเฟซที่ 1, 812–813
- โบนิเฟซที่ 2, 828–834
- อากานัส, 835–845
- อดาลเบิร์ตที่ 1, 847–886
- อดาลเบิร์ตที่ 2 ผู้ร่ำรวย, 886–915
- กีย์, 915–929
- แลมเบิร์ต, 929–931
ราชวงศ์โบโซ[แก้]
- มีเครือญาติ (โดยมากเป็นญาตินอกกฎหมาย) ของฮิวจ์แห่งอาร์เลส, กษัตริย์อิตาลี ซึ่งเขาได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งหลังจากถอดราชวงศ์โบนิเฟซ
- โบโซ, 931–936
- ฮัมเบิร์ต, 936–961
- ฮิวจ์มหาราช, 961–1001
ราชวงส์ฮุกโปลด์[แก้]
- โบนิเฟซ (ที่ 3), 1004–1011
นอกราชวงศ์[แก้]
- เรนิเยร์, 1014–1027
ราชวงศ์คานอสซา[แก้]
- สืบเชื้อสายจากเคานต์แห่งคานอสซา
- โบนิเฟซที่ 3, 1027–1052
- เฟรเดอริก, 1052–1055
- มาทิลดา, 1055–1115
- เบียทริซแห่งบาร์, 1052–1069 (สำเร็จราชการในฐานะพระชนนีในเฟรเดอริกและมาทิลดา)
- กอดฟรีย์ผู้ไว้เครา, ดยุคแห่งลอร์แรนใต้, 1053–1069 (สำเร็จราชการในฐานะสวามีเบียทริซ พระบิดาเลี้ยงในเฟรเดอริกและมาทิลดา)
- กอดฟรีย์ผู้หลังค่อม, ดยุคแห่งลอร์แรนใต้, 1069–1076 (ปกครองร่วมในฐานะพระสวามีในมาทิลดา)
- เวลฟ์ที่ 2, 1089–1095 (ปกครองร่วมในฐานะพระสวามีในมาทิลดา)
นอกราชวงศ์[แก้]
- ราโบโด, 1116–1119
- คอนราด, 1119/20–1129/31
- รัมเพรต, c. 1131
- เองเกิลเบิร์ต, 1134/5–1137
- เฮนรีผู้ภาคภูมิ, 1137–1139
- อุลริกแห่งแอทเทม, 1139–1152 (imperial vicar)
- เวลฟ์ที่ 6, 1152–1160
- เวลฟ์ที่ 7, 1160–1167
- เรนาลด์แห่งดัสเซล, อาร์ชบิชอปแห่งโคโลญ, 1160–1163 (imperial vicar)
- คริสเตียนแห่งบุช, อาร์ชบิชอปแห่งไมนซ์ 1163–1173 (imperial vicar)
- เวลฟ์ที่ 6, 1167–1173
- ฟิลิป, 1195–1197
- ค.ศ. 1197 ฟิลิปได้รับเลือกเป็นกษัตริย์แห่งเยอรมนีและเป็นขุนนางทัสคานีส่วนใหญ่ เมืองและบาทหลวงก่อตั้งสันนิบาตตอสคานาโดยมีพระสันตปาปาหนุนหลัง
- เฟรเดอริกแห่งแอนติออก, 1246–50 (imperial vicar)
หลังจากนั้น, ตอสคานาถูกแบ่งแยกระหว่างสาธารณรัฐที่ ฟลอเรนซ์, ปิซา, ซีเอนา, อาเรซโซ, ปิสตัวอา แลพ ลุกกา ตั้งแต่ศตวรรษที่ 14 ฟลอเรนซ์มีอำนาจเหนือปิสตัวอา (1306, ผนวกเป็นทางการ 1530), อาเรซโซ (1384), ปิซา (1406), และซีเอนา (1559) ลุกกายังคงเป็นอิสระจนกระทั่งยุคนโปเลียนในศตวรรษที่ 19
ผู้ปกครองฟลอเรนซ์, 1434–1569[แก้]
ผู้ปกครองโดยพฤตินัยจากตระกูลเมดิซี, 1434–1494[แก้]
รูป | นาม | เริ่มดำรงตำแหน่ง | พ้นจากตำแหน่ง | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
![]() |
โคสิโม เดอ เมดิซี | 1434 | 1464 | ลอร์ดแห่งฟลอเรนซ์คนแรก โดยพฤตินัย |
![]() |
ปิเอโรที่ 1 | 1464 | 1469 | บุตรของโคสิโม |
![]() |
ลอเรนโซที่ 1 เดอ เมดิซี ผู้เกรียงไกร | 1469 | 1492 | บุตรของปิเอโร |
![]() |
จูเลียโน เดอ เมดิซี | 1469 | 1478 | น้องชายของลอเรนโซ ปกครองร่วมกับพี่ชาย ต่อมาถูกลอบสังหาร |
ปิเอโรที่ 2 ผู้โชคร้าย | 1492 | 1494 | บุตรของลอเรนโซ ถูกปลดและเนรเทศ |
สาธารณรัฐฟลอเรนซ์ (1494-1512)[แก้]
รูป | นาม | เริ่มดำรงตำแหน่ง | พ้นจากตำแหน่ง | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
![]() |
จีโรลาโม ซาโวนาโรลา | 1494 | 1498 | การปฏิรูปที่เป็นแรงบันดาลใจรอบ ๆ ฟลอเรนซ์ ถูกประณามว่าเป็นคนนอกรีตและถูกแขวนคอและในเวลาเดียวกันและถูกเผากลางจตุรัส |
![]() |
ปิเอโร โซเดอรินี | 1502 | 1512 | ได้รับการประกาศเป็น ผู้นำตลอดชีพ (Standard Bearer for life), ลี้ภัยไปจากฟลอเรนซ์หลังตระกูลเมดิซีได้รับชัยชนะ |
ผู้ปกครองจากตระกูลเมดิซี (1512-1532)[แก้]
รูป | นาม | เริ่มดำรงตำแหน่ง | พ้นจากตำแหน่ง | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
![]() |
พระคาร์ดินัล จิโอวานนี เดอ เมดิซี | 1512 | 1513 | บุตรของลอเรนโซ ต่อมาเป็น สมเด็จพระสันตปาปาลีโอที่ 10 |
![]() |
จูเลียโนที่ 2 ดยุคแห่งเนมูร์ | 1513 | 1516 | บุตรของลอเรนโซ |
![]() |
ลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิซี | 1516 | 1519 | บุตรของปิเอโรผู้โชคร้าย เป็นดยุคแห่งเออร์บิโนร่วมด้วย |
![]() |
พระคาร์ดินัลจูลิโอ เดอ เมดิซี | 1519 | 1523 | บุตรของจูเลียโน เดอ เมดิซี, ต่อมาเป็น สมเด็จพระสันตปาปาคลีเมนต์ที่ 7 |
![]() |
อิปโปทิโอ เดอ เมดิซี | 1523 | 1527 | บุตรของจูเลียโน เดอ เมดิซี |
![]() |
อเลสซานโดร เดอ เมดิซี | 1527 | 1530 | บุตรของลอเรนโซที่ 2, ปกครองระหว่างลี้ภัย, กลับมาและดำรงตำแหน่งดยุคแห่งฟลอเรนซ์ ต่อมาถูกลอบสังหาร |
หลังการขับไล่ที่โรม, ฟลอเนซ์ล้มล้างตระกูลเมดิซีอีกครั้งและเป็นสาธารณรัฐจนกระทั่งพระสันตะปาปาคลีเมนต์ที่ 7 ลงนามในสัญญาสันติภาพกับ คาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ผู้รุกรานฟลอเรนซ์และฟื้นฟูตระกูลเมดิซี
รูป | นาม | เริ่มดำรงตำแหน่ง | พ้นจากตำแหน่ง | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
![]() |
อเลสซานโดร เดอ เมดิซี | 1531 | 1532 | บุตรของลอเรนโซที่ 2, ปกครองระหว่างลี้ภัย, กลับมาและดำรงตำแหน่งดยุคแห่งฟลอเรนซ์ ต่อมาถูกลอบสังหาร |
ตระกูลเมดิชี ดยุคแห่งฟลอเรนซ์, 1532–1569[แก้]
รูป | นาม | เริ่มดำรงตำแหน่ง | พ้นจากตำแหน่ง | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
![]() |
อเลสซานโดร เดอ เมดิซี | 1532 | 1537 | บุตรของลอเรนโซที่ 2, ปกครองระหว่างลี้ภัย, กลับมาและดำรงตำแหน่งดยุคแห่งฟลอเรนซ์ ต่อมาถูกลอบสังหาร |
![]() |
โคสิโมที่ 1 เดอ เมดิชี | 1537 | 1569 | บุตรของจิโอวานนี ดาลเล บันเด เนเร, ต่อมาเป็นแกรนด์ดยุคแห่งทัสกานีพระองค์แรก |
ตระกูลเมดิชี แกรนด์ดยุคแห่งทัสกานี, 1569–1737[แก้]
พระรูป | พระนาม | เริ่มดำรงตำแหน่ง | พ้นจากตำแหน่ง | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
![]() |
โคสิโมที่ 1 เดอ เมดิซี | 1569 | 1574 | บุตรของจิโอวานนี ดาลเล บันเด เนเร, เหลนของลอเรนโซผู้เกรียงไกร |
![]() |
ฟรานเซสโกที่ 1 เดอ เมดิชี | 1574 | 1587 | พระโอรสในโคสิโมที่ 1 |
![]() |
เฟอร์ดินานโดที่ 1 เดอ เมดิชี | 1587 | 1609 | พระโอรสในโคสิโมที่ 1 |
![]() |
โคสิโมที่ 2 เดอ เมดิชี | 1609 | 1621 | พระโอรสในเฟอร์ดินานโดที่ 1 |
![]() |
เฟอร์ดินานโดที่ 2 เดอ เมดิชี | 1621 | 1670 | พระโอรสในโคสิโมที่ 2 |
![]() |
โคสิโมที่ 3 เดอ เมดิชี | 1670 | 1723 | พระโอรสในเฟอร์ดินานโดที่ 2 |
![]() |
เกียน กาสตอน เดอ เมดิชี | 1723 | 1737 | พระโอรสในโคสิโมที่ 3, เป็นแกรนด์ดยุคพระองค์สุดท้ายของตระกูลเมดิชี |
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก-ลอร์แรน แกรนด์ดยุคแห่งทัสคานี, 1737–1801[แก้]
พระรูป | พระนาม | เริ่มดำรงตำแหน่ง | พ้นจากตำแหน่ง | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
![]() |
ฟรานเซสโกที่ 2 สเตฟาโน | 1737 | 1765 | สืบเชื้อสายจากฟรานเซสโกที่ 1,ต่อมาเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ |
![]() |
ปิเอโตร เลโอโปลโดที่ 1 | 1765 | 1790 | พระราชโอรสองค์รองในฟรานเซสโกที่ 2 สเตฟาโน ,ต่อมาเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ |
![]() |
เฟอร์ดินานโดที่ 3 | 1790 | 1801 | พระราชโอรสองค์รองในปิเอโตร เลโอโปลโดที่ 1 |
ราชวงศ์บูร์บง-ปาร์มา พระมหากษัตริย์แห่งอิทรูเรีย, 1801–1807[แก้]
พระรูป | พระนาม | เริ่มดำรงตำแหน่ง | พ้นจากตำแหน่ง | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
ลูโดวิโกที่ 1 | 1801 | 1803 | พระราชนัดดาในฟรานเซสโกที่ 2 สเตฟาโน | |
ลูโดวิโกที่ 2 | 1803 | 1807 | พระราชโอรสในลูโดวิโกที่ 1 |
ฝรั่งเศสผนวกทัสกานีระหว่างค.ศ. 1807–1814 เอลิซา โบนาปาร์ต พระขนิษฐาในนโปเลียน ได้รับพระยศแต่ในนามเป็นแกรนด์ดัชเชสแห่งทัสกานี แต่พระนางไม่เคยได้ปกครองดินแดนนี้ตามความจริง
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก-ลอร์แรน แกรนด์ดยุคแห่งทัสกานี, 1814–1860[แก้]
พระรูป | พระนาม | เริ่มดำรงตำแหน่ง | พ้นจากตำแหน่ง | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
![]() |
เฟอร์ดินานโดที่ 3 | 1814 | 1824 | ฟื้นฟู |
![]() |
เลโอโปลโดที่ 2 | 1824 | 1859 | พระโอรส |
![]() |
เฟอร์ดินานโดที่ 4 | 1859 | 1860 | พระโอรส |
เลโอโปลโดที่ 2 ถูกขับไล่ออกจากทัสคานีในการปฏิวัติตั้งแต่ 21 กุมภาพันธ์ - 12 เมษายน 1849, และอีกครั้งใน 27 เมษายน 1859 พระองค์สละราชสมบัติให้พระโอรส เฟอร์ดินานโดที่ 4 ในวันที่ 21 กรกฎาคม 1859, แต่เฟอร์ดินานโดที่ 4 มิได้รับการยอมรับในทัสกานีและถูดปลดจากตำแหน่งโดยคณะรัฐบาลเฉพาะกาลในวันที่ 16 สิงหาคม ทัสกานีถูกผนวกโดยราชอาณาจักรซาร์ดีเนียในวันที่ 22 มีนาคม 1860.
ผู้อ้างสิทธิ์, 1860–ปัจจุบัน[แก้]
- เฟอร์ดินานโดที่ 4 1860–1908
- จูเซปเป เฟอร์ดินานโด 1908–1921
- ปิเอโตร เฟอร์ดินานโด 1921–1948
- กอฟเฟรโด 1948–1984
- เลโอโปลโด ฟรานเซสโก 1984–1993
- ซิกิสมอนโด 1993–ปัจจุบัน